หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

เยื่อบุช่องท้องอักเสบ Peritonitis

เยื่อบุช่องท้องอักเสบหรือที่เรียกว่า Peritonitis เป็นการอักเสบของเยื่อบุช่องท้องซึ่งอาจจะเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา มะเร็งหรือสารเคมี เมื่อมีการติดเชื้อที่ช่องท้องจะทำให้เชื้อมีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะส่วนอื่นของร่างกาย

Peritoneum คืออะไร

Peritoneum เป็นเยื่อบางบางแบ่งออกเป็นสองชั้น ชั้นที่คลุมอวัยวะเรียก visceral peritoneum ส่วนอีกชั้นคลุมช่องท้องเรียก parietal peritoneum ช่องท้องจะมีน้ำไม่เกิน 100 มิลิลิตรซึ่งเป็นน้ำที่ไม่มีเชื้อโรค

ชนิดของ Peritonitis

Peritonitis มีสองชนิดได้แก่

ปัจจัยเสี่ยงช่องท้องอักเสบ

ปัจจัยเสี่ยงการเกิดช่องท้องอักเสบชนิด primary peritonitis:



ปัจจัยเสี่ยงการเกิดช่องท้องอักเสบชนิด secondary peritonitis ได้แก่

อาการและอาการแสดงของโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ

อาการและอาการแสดงของโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบได้แก่

การวินิจฉัยโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ

การวินิจฉัยโรคจะอาศัยประวัติการเจ็บป่วยในอดีต และอาการของโรค อาการปวดท้องจะเป็นอาการที่สำคัญ สำหรับบางท่านอาจจะมีอาการปวดท้องอยู่ก่อนหน้านี้ อาการปวดท้องนี้จะต่างจากเดิม ปวดจนขยับร่างกายไม่ได้ ต้องนอนนิ่งๆ หายใจเข้าแรงๆหรือไอจะปวดมากขึ้น ที่สำคัญคือเมื่อกดท้องบริเวณไหนก็ได้จะมีอาการปวดท้องเพิ่มขึ้น เมื่อปล่อยมืออาการปวดจะเพิ่มขึ้นจนแสดงสีหน้าว่าปวดมาก

การตรวจที่สำคัญ

สาเหตุของช่องท้องอักเสบสาเหตุของช่องท้องอักเสบ

Primary peritonitis

Secondary Peritonitis

การรักษาโรคช่องท้องอักเสบ Peritonitis

หากมีอาการปวดท้องดังกล่าวผู้ป่วยจะต้องนอนโรงพยาบาลเพื่อที่แพทย์และพยาบาลจะได้ดูแลใกล้ชิด

การผ่าตัด

สำหรับช่องท้องอักเสบชนิด secondary จะต้องผ่าตัดไปซ่อมหรือแก้ไขสาเหตุ เช่นไส้ติ่งแตกจะต้องผ่าตัดไปตัดไส้ติ่ง และล้างช่องท้องจนสะอาด สำหรับรายที่มีหนองในช่องท้องต้องระบายหนองให้หมด

ส่วนผู้ที่เป็นช่องท้องอักเสบชนิด primary จะต้องรกษาที่ต้นเหตุ เช่นตับแข็งหรือท้องมาน

โรคแทรกซ้อนของช่องท้องอักเสบ

การดูแลเรื่องอาหารหลังจากหายจากโรคช่องท้องอักเสบ

ช่องท้องอักเสบชนิด Primary ช่องท้องอักเสบชนิด Secondary