การตรวจการทำงานของตับ Aspartate aminotransferase (AST)

AST หรือ Aspartate aminotransferase; Serum glutamic-oxaloacetic transaminase; SGOT ค่าเอนไซม์ AST เป็นเอนไซม์ที่ใช้ช่วยตรวจวินิจฉัยภาวะโรคตับ และภาวะโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหัวใจ โดยเอนไซม์ AST พบได้มากที่ตับ และกล้ามเนื้อหัวใจ และส่วนน้อยพบได้ที่ เซลล์กล้ามเนื้อโครงร่าง, ไต, สมอง, ตับอ่อน, ปอด, เม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดง ซึ่งแตกต่างจากค่าเอนไซม์ตับ ALT ที่มีความจำเพาะเจาะจงกับตับมากกว่า AST ค่า AST ที่สูงขึ้นจะแปรผันโดยตรงกับจำนวนเซลล์ของอวัยวะ ซึ่งต้องรับอันตราย


ค่า AST จะเริ่มสูงขึ้นเมื่อเซลล์ได้รับบาดเจ็บผ่านไปแล้ว 8 ชั่วโมงโดยผลของเซลล์ที่ได้รับอันตรายให้ต้องบาดเจ็บ เมื่อระยะเวลาผ่านไปประมาณ 8 ชั่วโมง และขึ้นสูงสุดภายใน 24-36 ชั่วโมงแต่หากการบาดเจ็บของเซลล์มีลักษณะยืดเยื้อเรื้อรัง้ค่าของ AST ก็จะยังคงสูงอยู่ต่อไป

เมื่อไรแพทย์จะส่งตรวจการทำงานของตับ AST

เหตุผลในการส่งตรวจการทำงานของตับ AST

แพทย์บางท่านจะส่งการตรวจการทำงานของตับเหมือการตรวจสุขภาพประจำปี แต่ความจริงการส่งตรวจการทำงานของตับควรจะส่งในรายที่มีความเสี่ยงของการเกิดโรคตับ

แต่ส่วนใหญ่แพทย์จะส่งตรวจการทำงานของตับในรายที่มีอาการของโรคตับ

ผู้ป่วยมักจะมีอาการดังต่อไปนี้

ค่าปกติของ AST

โดยเหตุนี้ ค่า AST จึงอาจใช้เป็นเพียงตัวร่วมเพื่อบ่งชี้ พร้อมกับค่าผลเลือดตัวอื่นที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะนั้น ๆ เช่น กรณีตัวอย่าง ดังนี้

  1. กรณีโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial infarction, MI) ซึ่งจะเป็นเหตุให้เซลล์หัวใจได้รับบาดเจ็บจากการที่มีออกซิเจนไปส่งให้กล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอการจะวินิจฉัยว่า เกิดสภาวะ MI หรือไม่เพียงใด แพทย์ท่านอาจจะต้องทราบค่าจากผลตรวจเลือดพร้อมกันอย่างน้อย 3 ตัว คือ

กรณีสภาวะความเสียหายของตับ ในชั้นต้น อาจจำเป็นต้องหาผลเลือด จำนวน 2 ตัว คือ

ค่าผิดปกติ

ในทางน้อย มักไม่ใคร่ปรากฏและไม่มีนัยสำคัญ หรืออาจสรุปว่ายังไม่มีโรคสำคัญก็ได้

ค่า ASTมากกว่าปกติ สาเหตุ

ในกรณีค่า AST สูงกว่าปกติเล็กน้อย สาเหตุ

AST สูง 2-5 เท่าจากค่าปกติ สาเหตุ

AST สูง 5-10 เท่าจากค่าปกติ สาเหตุ

AST สูง 10-20 เท่าจากค่าปกติ สาเหตุ

กรณี AST สูงเกินกว่า 20 เท่าของค่าปกติ สาเหตุ

ข้อที่ควรจะคำนึงถึง

เนื่องจากเอนไซม์พบได้ทั้งใน ตับ กล้ามเนื้อ หัวใจ ไต สมอง ตับอ่อน ดังนั้นในการวินิจฉัยโรคจะต้องอาศัยประวัติการเจ็บป่วย และผลเลือดอื่นๆเนื่องจากการตรวจเลือดหาค่า ALT มักจะต้องมี AST ควบคู่มาด้วยเสมอ โดยเหตุนี้ จึงมีผู้เชี่ยวชาญช่วยกันวิเคราะห์ว่า อัตราส่วนระหว่าง AST : ALT นั้น อาจใช้ผลลัพธ์ที่ได้เป็นตัวบอกข้อบ่งชี้โรคตับได้อย่างหยาบ ๆ โดยมีสถิติที่เคยปรากฏเป็นข้อยืนยัน และเรียกอัตราส่วน ทั้งนี้ DeRitis Ratio ได้อาศัยสถิติที่ผ่านมา รวบรวมเป็นข้อสันนิษฐานโรคเกี่ยวกับตับ สรุปได้ดังนี้

ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของAST : ALT ตามชื่อผู้ค้นคว้าคนแรกนี้ว่า "DeRitis Ratio"

De Ritis Ratio Decision Limit
โรคหรือสุขภาพ<1.01.0 to <1.51.5 to <2.0≥ 2.0

แข็งแรงผู้หญิง (up to 1.7)เด็กทารก
Men (up to 1.3)

ไวรัสตับอักเสบกำลังดีขึ้นแย่ลงตับวาย

ตับอักเสบจากสุรากำลังดีขึ้นติดสุราตับอักเสบเฉียบพลัน

โรคตับเรื้อรังคงที่เสี่ยงต่อการเกิดพังผืดOther Causes

โรคกล้ามเนื้อเรื้อรังกำลังดีขึ้นเฉียบพลัน

ก่อนการตรวจเลือดต้องแจ้งแพทย์เรื่องต่อไปนี้

ค่าเอนไซม์ที่สูง

Albumin | Globulin | Alkaline phosphatase | AST | ALT | Bilirubin | การแข็งตัวของเลือด | Gamma Glutamic Transpeptidase | lactic dehydrogenase test | การตรวจการทำงานของตับ

ทบทวนวันที่22/1/2566

โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

Google