การตรวจค่าBlood Urea Nitrogen

การตรวจค่าBlood Urea Nitrogen หรือที่เรียกว่า BUN เป็นการวัดปริมาณไนโตรเจนในกระแสเลือด ร่างกายจะย่อยสลายโปรตีนที่ตับ ชั้นต้น สารของเสีย จะอยู่ในรูปของแอมโมเนีย (NH) และต่อจากแอมโมเนีย จึงสร้างเป็นสารยูเรีย (urea) และจะนำของเสียดังกล่าวนี้ไปกำจัดผ่านไต เพื่อออกเป็นปัสสาวะต่อไป ส่วนประกอบสำคัญของ ยูเรีย (urea) คือไนโตรเจน หากไตเสื่อมก็จะมีการคั่งของไนโตรเจน

เมื่อไรแพทย์จึงจะสั่งตรวจ BUN

การเจาะเลือด

ค่าปกติ

Blood urea nitrogen (BUN)

Adults:

10–20(mg/dL) 

Children:

5–18 mg/dL

ค่าสูงผิดปกติ

ยาที่ทำให้ค่า BUNสูง

ค่า BUN น้อยผิดปกติ

ยาที่ทำให้ค่า BUN ต่ำ

ในการประเมินการทำงานของไตแพทย์มักจะเจาะเลือดตรวจหาค่า creatinine เพื่อประเมินการทำงานของไต ค่า creatinine มาจากการสลายของกล้ามเนื้อซึ่งค่อนข้างจะคงที่ การที่ค่า creatinine จะบ่งบอกว่าไตทำงานลดลง ส่วน BUN เกิดจากการสลายของโปรตีนซึ่งอัตราไม่คงที่ขึ้นกับปริมาณโปรตีน การไหลเวียน จึงได้นำอัตราส่วนของ BUN:creatinine มาช่วยในการวินิจฉัยโรคเช่นภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรง

BUN-to-creatinine ratio 

Adults:

6–25 with 15.5 เป็นค่าที่ดีที่สุด

เมื่อตรวจพบว่าค่า BUN สูงจะต้องทำอย่างไร

ข้อควรทราบ

BUNไม่สามารถตัดสินได้ชัดเจนว่าเป็นโรคไต แต่ก็เป็นปัจจัยสำคัญตัวหนึ่งซึ่งจำเป็นที่จะช่วยบ่งชี้ร่วมกับผลการตรวจเลือดตัวอื่นเช่นในข้อต่อไปอีก 2 ข้อ

  1. Creatinine จะให้ผลการตรวจไตที่ค่อนข้างแม่นยำมากกว่า
  2. Creatinine clearance คือ ความสามารถในการกรองของเสียของไตที่ยังเหลืออยู่ ซึ่งจะแสดงความสมบูรณ์ของไตชัดเจนยิ่งขึ้น GFR

อัตรากรองของไต | Creatinin | BUN | การตรวจปัสสาวะ | การตรวจหาโปรตีนในปัสสาวะ | การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด | การตรวจไขมันในเลือด | การตรวจเกลือแร่ | แคลเซี่ยม

 

เรียบเรียงวันที่

โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

Google
 

เพิ่มเพื่อน