การตรวจการทำงานของไต


ร่างกายของคนเรามีไตสองข้าง หากเหลือไตข้างเดียวก็ยังสามารถดำรงชีวิตได้ ไตมีหน้าที่หลายประการที่ทำให้สุขภาพดี เมื่อ nephrons (หน่วยเล็กที่สุดของไต)เสื่อมจะทำให้การกรองน้ำและของเสียลดลง ซึ่งจะทำให้เกิดการคั่งของน้ำและเกลือแร่ โรคไตที่เริ่มเป็นจะไม่มีอาการ จนกระทั่งการทำงานของไตลดลงระดับหนึ่งจึงจะเกดอาการ


โรคไตเรื้อรัง

ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องตรวจการทำงานของไต เพื่อที่จะได้ทราบว่าเป็นโรคไตตั้งแต่เริ่มเป็น

ดังนั้นจะเห็นว่าหากเป็นโรคไตแล้วจะดำเนินไปสู่ไตวายเรื้อรัง โรคไตบางโรคสามารถป้องกันได้หากเจอตั้งแต่เริ่มเป็นโรค



โดยทั่วไปการเกิดโรคไตมีสองแบบคือ


การป้องกันโรคไต

ความรุนแรงของโรคไต


การตรวจการทำงานของไต

การเจาะเลือด

การตรวจปัสสาวะ

  • ค่า Albumin Creatinine Ratio เป็นการวัดปริมาณโปรตีนซึ่งส่วนใหญ่เป็น albumin ที่รั่วเข้าไปในปัสสาวะเนื่องจากไตเสื่อมอ่านเรื่องโปรตีนในปัสาวะ
  • การตรวจปัสสาวะ Urinalysis เป็นการตรวจปัสสาวะทั่วๆไปซึ่งจะตรวจหาเม็ดเลือดแดง การติดเชื้อ สี น้ำตาลในปัสสาวะ

การตรวจเลือดสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน

  • สำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานต้องควบคุมน้ำตาล Glucose  ให้อยู่ในเกณฑ์
  • Glycosylated haemoglobin (HbA1c)เป็นการวัดค่าน้ำตาลเฉลี่ย

การตรวจสำหรับผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูง

การตรวจไขมันในเลือด

เมื่อแพทย์สั่งตรวจไขมันในเลือดแพทย์จะสั่งเจาะ 4 ตัวได้แก่

  • Cholesterol มีหน้าที่สร้างเซลลืผิว cell membranes, ฮอร์ดมน and vitamin D หากมีมากไปจะทำให้หลอดเลือดตีบ
  • Low-density lipoprotein (LDL) cholesterol เป็นไขมันที่ไม่ดี ค่ายิ่งสูงเท่าใดยิ่งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบ
  • High-density lipoprotein (HDL) cholesterol -เป็นไขมันที่ดี ป้องกันหลอดเลือดตีบ
  • Triglycerides -เป็นไขมันที่สะสมในร่างกาย หากมีค่ามากไปก็จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

การตรวจวิตามินและเกลือแร่

  • Potassium (K+) เป็นเกลือแร่ที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย มีมากในอาหารพวกผักและผลไม้ หากร่างกายได้รับมากไป ไตจะขับออกทางปัสสาวะ ค่าทั้งสูงหรือต่ำเกินไปจะมีผลเสียต่อหัวใจ
  • Sodium (salt, Na+) - เป็นเกลืแร่ที่สำคัญในกระแสเลือด ค่าสูง และค่าต่ำกว่าปกติจะส่งผลเสียต่อร่างกาย
  • Calcium (Ca) เป็นแร่ธาตุที่สำหรับสร้างกระดูก และฟัน เซลล์ในร่างกายจำเป็นต้องมีแคลเซี่ยม เพื่อให้ทำงานปกติ ยังมีความสำคัญในการบีบตัวของกล้ามเนื้อ
  • Phosphate (PO4) เป็นเกลือที่มีความสำคัญในการสร้างกระดูก ค่า phosphate สูงทำให้เกิดปวดตามข้อ เช่นข้อเข่า ศอก ข้อเท้า หากไตเสื่อมค่า phosphate จะสูง
  • Vitamin D - ร่างกายเราสร้างวิตามิน ดีจากแสงแดด ไตเป็นตัวเปลี่ยนวิตามินดี เพื่อให้ร่างกายใช้วิตามินนี้

การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด

  • Haemoglobin (Hb) -เป็นส่วนหนึ่งของเม็ดเลือดแดงทำหน้าที่นำออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกาย หากไตเสื่อมค่านี้จะต่ำหรือที่เรียกว่าโลหิตจางเนื่องจากขาดฮอร์โมน erythropoitin
  • Haematocrit (Hct) ความเข้มข้นของเลือดซึ่งจะบ่งบอกว่ามีโลหิตจางหรือไม่
  • Transferrin saturation (TSAT) -เป็นการวัดโปรตีนที่เป็นตัวนำธาตุเหล็กว่ามีธาตุเหล็กมากน้อยเพียงใด
  • Ferritin -เป็นการวัดธาตุเหล็กในร่างกาย

การตรวจฮอร์โมน

  • Parathyroid hormone (PTH)เป็นฮอร์โมนที่ควบคุมแคลเซี่ยม ฟอสฟอร์รัส และวิตามินดี หากไตเสื่อมค่าฮอร์โมนนี้จะสูง

การตรวจทางรังสี


โรคไตเรื้อรัง ระยะของโรคไตเรื้อรัง ข้อควรปฏิบัติของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังอาหารที่ต้องระวังสำหรับผู้ป่วยโรคไต

อัตรากรองของไต | Creatinin | BUN | การตรวจปัสสาวะ | การตรวจหาโปรตีนในปัสสาวะ | การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด | การตรวจไขมันในเลือด | การตรวจเกลือแร่ | แคลเซี่ยม

วันที่ 23/1/2566

โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

Google
 

เพิ่มเพื่อน