jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

การวินิจฉัยโรคมาลาเรีย พี.มาลาริอี


การวินิจฉัยโรคสามารถทำได้โดยการตรวจเลือดและย้อมวิธีพิเศษและส่องกล้อง

ส่วนระยะอื่นของเชื้อโรคเช่น Merozoites

ระยะRing form

การตรวจเลือดของผู้ป่วยที่เป็นมาลาเรียจะพบเซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดปกติหรือใหญ่เล็กน้อย รอบตัวเซลล์ที่เหมือนขอบแหวนจะมีขนาดใหญ่ หัวแหวนจะมีขนาดใหญ่ ในเม็ดเลือดแดง 1 เซลล์อาจจะพบตัวเชื้อมาลาเรียได้หลายตัว

รูปที่1เป็นเม็ดเลือดแดงปกติ ส่วนรูปที่ 2-5 เป็นการแสดงการเจริญเติบโตของตัวเชื้อมาลาเรีย

A

B

รูป A จะพบเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีการติดเชื้อมาลาเรียอยู่ 1 เซลล์ ส่วนรูป B จะพบเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีการติดเชื้อมาลาเรียและมีเม็ดสีSchüffner's dots

ระยะ Trophozoite

 ตัวแก่ในระยวงแหวนเราเรียกระยะ Trophozoite ขอบวงแหวนจะมีขนาดใหญ่จะหนาและมีสีเข้มกว่าระยะแรก หัวแหวนมีขนาดใหญ่ และสามารถพบจุดSchüffner's dots  เซลล์ตัวแก่จะมีเม็ดสีเหลืองในตัวเซลล์

รูป 11-18 แสดงการเจริญเติบโตของเชื้อมาลาเรีย ระยะเซลล์เหล่านี้มักจะตรวจไม่พบในการตรวจเลือด

รูปทั้งสองจะพบขอบแหวนมีการหนาตัวขึ้น และอาจจะพบจุดสีเหลืองในเซลล์

ระยะ Schizont

ในระยะนี้ไม่ค่อยพบในการตรวจเลือดเป็นเซลล์ตัวแก่ของ Trophozoite เรียก Scizont จะมีเม็ดสีเล็กๆ 6-14เม็ดเรียก merozoites เมื่อแก่เซลล์ก็จะแตกออก

ระยะ Gametocyte

เป็นเซลล์ระยะเพศของมาลาเรีย เซลล์จะมีรูปร่างวงกลมหรือวงรีอยู่เต็มเซลล์เม็ดเลือดแดง

รูป 24-25 เป็นเซลล์เพศ
รูปแสดงเซลล์เพสมาลาเรียจากการย้อม

ลักษณะสำคัญของ พี.มาลาอี

วงจรชีวิต >แหล่งระบาด >ลักษณะทางคลินิก >การวินิจฉัย >การรักษา >โรคแทรกซ้อน >การป้องกัน > มาลาเรียขึ้นสมอง

เพิ่มเพื่อน