หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

การจัดบริการรักษาผู้ป่วยวัณโรค (Organization of tuberculosis treatment unit)

จำเป็นต้องมี โดยประกอบด้วยมาตรการดัง ต่อไปนี้



ปัจจุบันมียารักษาวัณโรคที่มีประสิทธิภาพ ดี สามารถรักษาให้โรคหายขาดได้ การรักษาจะได้ ผลดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับ

ตารางที่ 1 ยารักษาวัณโรคที่มีประสิทธิภาพดี

ชื่อ ใช้ยาทุกวัน ให้ยาสัปดาห์ละ 3 ครั้ง (สำหรับผู้ใหญ่) ฤทธิ์ข้างเคียงที่ สำคัญ
ผู้ใหญ่ เด็ก
Isoniazid (H) 300 มก./วัน 5(4-6) มก./กก./วัน 10(8-12) มก./กก. ตับอักเสบ
Rifampicin (R)

>50กก.ให้ 600 มก./วัน

<50กก.ให้ 450 มก./วัน

10(8-12) มก./กก./วัน 10(8-12) มก./กก. ตับอักเสบ อาการ คล้ายไข้หวัดใหญ่ ถ้าให้ยาสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
Streptomycin (S)

>50 กก.ให้ 1 กรัม/วัน

< 50 กก.ให้ 0.75 กรัม/วัน

15(12-18) มก./กก./วัน ไม่เกินวันละ 1 กรัม 15(12-18) มก./กก. หูตึง เสียการทรงตัว
Pyrazinamide (Z) 20-30 มก./กก./วัน 25(20-30) มก./กก./วัน 35(30-40) มก./กก. ตับอักเสบ ผิวหนังเกรียม แพ้แดด ปวดมือ
Ethambutol (E) 15-25 มก./กก./วัน 15(15-20) มก./กก./วัน 30(25-30) มก./กก. ตามัว และอาจตาบอดได้

** หมายเหตุ : มก. = มิลลิกรัม กก. = กิโลกรัม

นอกจากนี้ยังมียาสำรองบางชนิดที่หาซื้อได้ยาก ราคาแพง ประสิทธิภาพปานกลางหรือต่ำ และมี ฤทธิ์ข้างเคียงสูง (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 ยาสำรอง (ที่มีจำหน่ายในประเทศไทย)

  ขนาด ผลข้างเคียง
1) Thiacetazone 150 มก./วัน เบื่ออาหาร ผื่นคัน ตับอักเสบ
2) Amikacin 15 มก./กก./วัน หูตึง เสียการทรวงตัว
3) Kanamycin 15 มก./กก./วัน หูตึง เสียการทรงตัว
4) Ofloxacin 400-600 มก./วัน คลื่นไส้ ปวดศีรษะ
5) Levofloxacin 400-600 มก./วัน คลื่นไส้ ปวดศีรษะ
6) Ciprofloxacin 750-1000 มก./วัน คลื่นไส้ ปวดศีรษะ
7) PAS 8-12 กรัม/วัน คลื่นไส้ แน่นท้อง ท้องเสีย เป็นผื่น
8) Cycloserine 500-750 มก./วัน บวม อารมณ์ผันผวน จิตประสาท ชัก

** หมายเหตุ : มก. = มิลลิกรัม กก. = กิโลกรัม

นำมาจาก แนวทางการวินิจฉัยและรักษาวัณโรคในประเทศไทย พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุง)

ความสำคัญของวัณโรค การติดต่อ ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ การวินิจฉัยโรค การทดสอบผิวหนัง วัณโรคนอกปอด วัณโรคดื้อยา ยาและการจัดการกับวัณโรค การรักษาวัณโรค การให้ยาแบบ DOT การรักษาวัณโรคในภาวะพิเศษ วัณโรคในเด็ก เอดส์และวัณโรคการป้องกันวัณโรค การฉีดวัคซีน BCG วัณโรค

 

ทบทวนวันที่

โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

Google
 

เพิ่มเพื่อน