หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน
กลุ่มอาการเนื่องจากการขาดสุรา (alcohol withdrawal syndrome) เป็นกลุ่มอาการที่เกี่ยวข้องกับ การเปลี่ยนแปลง ในหน้าที่ของระบบประสาทส่วนกลาง เกิดขึ้นในผู้ที่ดื่มสุราอย่างหนักเป็นประจำและหยุดดื่มหรือลดการดื่มสุราลงกระทันหัน อาการเหล่านี้เกิดขึ้นได้หลังจากดื่มวิสกี้ปริมาณ 16 ออนซ์ หรือ 2/3 ขวดต่อวันติดต่อกันเป็นเวลานาน 14-21 วัน
การวินิจฉัยโรค ที่พบสูงสุด คือ การติดสุรา ซึ่งมีถึงร้อยละ 70 ของผู้ป่วยทั้งหมด
ในเวชปฏิบัติทั่วไปจะพบผู้ป่วยมีอาการหลังจากหยุดสุราอยู่เสมอ ๆ ซึ่งจะมาพบแพทย์ ด้วยอาการแตกต่าง กันไป เช่น อาการตัวสั่น ตึงเครียด ชัก ประสาทหลอน หรือมีอาการสับสน วุ่นวาย พบบ่อยว่าผู้ป่วยเกิดอาการ เหล่านี้ขึ้น หลังจาก เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลได้ 2-3 วันด้วยความเจ็บป่วยอื่นหรือได้รับอุบัติเหตุ
การเกิดอาการของผู้ป่วยสัมพันธ์กับอัตราการลดลงของปริมาณสุราในร่างกาย มากกว่าปริมาณ ของสุราในร่างกาย อาการของโรคเกิดหลังจากหยุดสุรา 6 ชั่วโมง หรือหลายวัน อาการอาจจะมีเพียงเล็กน้อยหรืออาการมากจนเป็นอันตรายต่อชีวิตอาการที่พบได้แก่
สุรามีฤทธิ์กดการทำงานของสมองในสภาพที่คนที่ดื่มสุราตลอดจะมีแอลกอฮอลล์ในเลือดสูงอย่างต่อเนื่อง สมองจะต้องทำงานอยู่ตลอดเวลา เมื่อเราหยุดสุราทันทีเซลล์ไม่สามารถปรับตัวเนื่องจากการขาดสุราจึงเกิดอาการกระตุ้นจากเซลล์ระบบต่างๆ ทำให้เกิดอาการ
คนที่ดื่มสุราเรื้อรังเป็นจำนวนมากจะเสี่ยงต่อการเกิดอาการเนื่องจากขาดสุรา หากหยุดสุรากระทันหัน การเกิดภาวะนี้จะพบได้ทั้งผู้สูงอายุและวัยรุ่นที่ดื่มมาก โดยเฉพาะกับคนที่หยุดสุราแล้วเกิดอาการเนื่องจากขาดสุรามาก่อน องค์การอาหารและยาสหรัฐได้กำหนดว่าผู้หญิงที่ดื่มสุรามากกว่า 8 หน่วยสุรา ชายดื่มมากกว่า 15 หน่วยสุราต่อสัปดาห์หมายถึงผู้ดื่มสุรามากซึ่งเท่ากับ
สำหรับผู้ที่ดื่มสุราที่เรียกว่า Binge drinking เป้นกลุ่มที่ดื่มสุรามากโดยมีคำนิยามดังนี้ หยิงดื่มมากว่า 4 หน่วยสุรา ชายดื่มมากกว่า 5 หน่วยสุราต่อการดื่มหนึ่งครั้งกลุ่มนี้จะเสี่ยงต่อการเกิดกลุ่มอาการเนื่องจากการขาดสุรา
การวินิจฉัยอาศัยประวัติและการตรวจร่างกายเท่านั้นเกณฑ์ดังต่อไปนี้
และที่สำคัญจะต้องตรวจอวัยวะที่ได้ผลเสียหายจากการดื่มสุราเรื้อรัง เช่น ตับ ตับอ่อน ระบบทางเดินอาหาร หัวใจ ผลการตรวจเลือด ระบบประสาท
กลุ่มอาการเนื่องจากการขาดสุรา (alcohol withdrawal syndrome) เป็นกลุ่มอาการที่เกี่ยวข้องกับ การเปลี่ยนแปลง ในหน้าที่ของระบบประสาทส่วนกลาง เกิดขึ้นในผู้ที่ดื่มสุราอย่างหนักเป็นประจำและหยุดดื่มหรือลดการดื่มสุราลงกระทันหัน อาการเหล่านี้เกิดขึ้นได้หลังจากดื่มวิสกี้ปริมาณ 16 ออนซ์ หรือ 2/3 ขวดต่อวันติดต่อกันเป็นเวลานาน 14-21 วัน
การวินิจฉัยโรค ที่พบสูงสุด คือ การติดสุรา ซึ่งมีถึงร้อยละ 70 ของผู้ป่วยทั้งหมด
ในเวชปฏิบัติทั่วไปจะพบผู้ป่วยมีอาการหลังจากหยุดสุราอยู่เสมอ ๆ ซึ่งจะมาพบแพทย์ ด้วยอาการแตกต่าง กันไป เช่น อาการตัวสั่น ตึงเครียด ชัก ประสาทหลอน หรือมีอาการสับสน วุ่นวาย พบบ่อยว่าผู้ป่วยเกิดอาการ เหล่านี้ขึ้น หลังจาก เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลได้ 2-3 วันด้วยความเจ็บป่วยอื่นหรือได้รับอุบัติเหตุ
การเกิดอาการของผู้ป่วยสัมพันธ์กับอัตราการลดลงของปริมาณสุราในร่างกาย มากกว่าปริมาณ ของสุราในร่างกาย อาการของโรคเกิดหลังจากหยุดสุรา 6 ชั่วโมง หรือหลายวัน อาการอาจจะมีเพียงเล็กน้อยหรืออาการมากจนเป็นอันตรายต่อชีวิตอาการที่พบได้แก่
สุรามีฤทธิ์กดการทำงานของสมองในสภาพที่คนที่ดื่มสุราตลอดจะมีแอลกอฮอลล์ในเลือดสูงอย่างต่อเนื่อง สมองจะต้องทำงานอยู่ตลอดเวลา เมื่อเราหยุดสุราทันทีเซลล์ไม่สามารถปรับตัวเนื่องจากการขาดสุราจึงเกิดอาการกระตุ้นจากเซลล์ระบบต่างๆ ทำให้เกิดอาการ
คนที่ดื่มสุราเรื้อรังเป็นจำนวนมากจะเสี่ยงต่อการเกิดอาการเนื่องจากขาดสุรา หากหยุดสุรากระทันหัน การเกิดภาวะนี้จะพบได้ทั้งผู้สูงอายุและวัยรุ่นที่ดื่มมาก โดยเฉพาะกับคนที่หยุดสุราแล้วเกิดอาการเนื่องจากขาดสุรามาก่อน องค์การอาหารและยาสหรัฐได้กำหนดว่าผู้หญิงที่ดื่มสุรามากกว่า 8 หน่วยสุรา ชายดื่มมากกว่า 15 หน่วยสุราต่อสัปดาห์หมายถึงผู้ดื่มสุรามากซึ่งเท่ากับ
สำหรับผู้ที่ดื่มสุราที่เรียกว่า Binge drinking เป้นกลุ่มที่ดื่มสุรามากโดยมีคำนิยามดังนี้ หยิงดื่มมากว่า 4 หน่วยสุรา ชายดื่มมากกว่า 5 หน่วยสุราต่อการดื่มหนึ่งครั้งกลุ่มนี้จะเสี่ยงต่อการเกิดกลุ่มอาการเนื่องจากการขาดสุรา
การวินิจฉัยอาศัยประวัติและการตรวจร่างกายเท่านั้นเกณฑ์ดังต่อไปนี้
และที่สำคัญจะต้องตรวจอวัยวะที่ได้ผลเสียหายจากการดื่มสุราเรื้อรัง เช่น ตับ ตับอ่อน ระบบทางเดินอาหาร หัวใจ ผลการตรวจเลือด ระบบประสาท
กลุ่มอาการเนื่องจากขาดสุรา กลุ่มอาการเนื่องจากขาดสุรา การรักษาอาการเนื่องจากขาดสุรา
การอดสุรา | โรคพิษสุราเรื้อรัง | คุณเมาหรือไม่ | อาการขาดสุรา | สุราช่วยลดอัตราการเสียชีวิต | ผลเสียต่อสุขภาพ | การรักษา
ทบทวนวันที่ 12/4/2566
โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว