jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

ต่อมลูกหมากโต Benigh prostatic hypertrophy

ต่อมลูกหมากโตคืออะไร

เมื่อผู้ชายเริ่มย่างเข้าอายุ 40 ปีต่อมลูกหมากจะโตเมื่ออายุมากขึ้น ก็จะพบผู้ป่วยที่ต่อมลูกหมากโต จะเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ80จะมีต่อมลูกหมากโต ต่อมลูกหมาก จะเริ่มโตจากด้านใน ดังนั้นก็จะกดท่อปัสสาวะทำให้ปัสสาวะลำบาก เมื่อปัสสาวะลำบาก ทำให้ปัสสาวะออกไม่หมด เหลือปัสสาวะบางส่วนในกระเพาะปัสสาวะ เกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้ นอกจากนี้การที่ทางเดินปัสสาวะถูกกด อาจจะทำให้กระเพาะปัสสาวะบีบตัวไม่ดี และอาจจะเกิดไตวายได้หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง

ต่อมลูกหมากโตเป็นโรคเดียวกับมะเร็งต่อมลูกหมากหรือไม่

prostate=ต่อมลูกหมาก  bladder= กระเพาะปัสสาวะ    ureter= ท่อไต   eretha= ท่อปัสสาวะ

ต่อมลูกหมากโตเป็นเพียงมีเซลล์เพิ่มขึ้น ไม่ใช่มะเร็งต่อมลูกหมาก ผู้ป่วยส่วนมากแม้จะมีต่อมลูกหมากโตแต่ก็ไม่มีอาการ

ผู้ป่วยต่อมลูกหมากโตจะมีอาการอะไรบ้าง

อาการของต่อมลูกหมากโต เกิดจากต่อมลูกหมากโตกดท่อปัสสาวะ ทำให้ท่อปัสสาวะแคบ ระยะแรกของโรค กระเพาะปัสสาวะยังแข็งแรง สามารถบีบตัวไล่ปัสสาวะออกได้ แต่เมื่อเวลาผ่านไปกระเพาะปัสสาวะอ่อนแรงไม่สามารถบีบตัวไล่ปัสสาวะ ทำให้เกิดอาการปัสสาวะสะดุด ผู้ป่วยบางคนอาจจะไม่มีอาการจนได้รับประทานยาแก้หวัด ผลข้างเคียงของยาแก้หวัดทำให้เกิดอาการปัสสาวะไม่อก อาการที่พบได้บ่อยคือ

ถ้าหากผู้ป่วยยังไม่รักษาก็อาจจะเกิดโรคแทรกซ้อนตามมาได้แก่ กระเพาะปัสสาวะบีบตัวไม่ดีเกิดการคั่งของปัสสาวะและเกิดการติดเชื้อได้ง่าย ไตเสื่อม กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะเล็ด นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

การวินิจฉัยโรคต่อมลูกหมากโต



การป้องตันต่อมลูกหมากโต

There are no specific preventive measures for BPH. However, maintaining an active lifestyle with adequate exercise is recommended 1. Here are some lifestyle changes that may help manage your weight and keep your prostate healthy:

If you experience common BPH symptoms such as frequent urination, nocturia, difficulty in starting urination, weak or continuous stream of urine, dribbling at the end of urination, inability to empty the bladder, blood in urine, urinary incontinence, or urinary retention, it’s worth getting checked out by a doctor 1.

ไม่มีมาตรการป้องกันเฉพาะสําหรับเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล อย่างไรก็ตามแนะนําให้รักษาวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉงด้วยการออกกําลังกายอย่างเพียงพอ 1. นี่คือการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตบางอย่างที่อาจช่วยควบคุมน้ําหนักของคุณและทําให้ต่อมลูกหมากของคุณแข็งแรง:

หากคุณพบอาการเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลที่พบบ่อยเช่นปัสสาวะบ่อย, nocturia, ความยากลําบากในการเริ่มปัสสาวะ, กระแสปัสสาวะอ่อนแอหรือต่อเนื่อง, การเลี้ยงลูกเมื่อสิ้นสุดการปัสสาวะ, ไม่สามารถล้างกระเพาะปัสสาวะ, เลือดในปัสสาวะ, ปัสสาวะเล็ด, หรือการเก็บปัสสาวะ, คุณควรไปพบแพทย์ 1.

 

ต่อมลูกหมากอักเสบ | ต่อมลูกหมากโต | มะเร็งต่อมลูกหมาก

การรักษาต่อมลูกหมากโต