jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

งูเห่ากัด:อาการ,ปฐมพยาบาล,และการรักษาฉุกเฉิน

งูเห่ากัด: ทำความเข้าใจกับอันตรายและขอความช่วยเหลือ

งูเห่าเป็นงูพิษที่ขึ้นชื่อเรื่องพิษพิษต่อระบบประสาทการถูกกัดทำให้เกิดเหตุฉุกเฉินทางการแพทย์ที่ร้ายแรง และต้องได้รับการดูแลทันที งูเห่าพบมากในภาคกลาง บริเวณกรุงเทพ สมุทรปราการ อยุธยา อ่างทอง ลพบุรี มักอยู่ตามป่าและท้องนา ดังนั้นคนที่ถูกกัดบ่อยคือชาวนา ลักษณะที่สำคัญของมันคือเมื่อโกรธมันจะแผ่แม่เบี้ย ชูคอสูงและฉกกัดอย่างรวดเร็ว ยกเว้นเมื่อตกใจมันจะฉกกัดทันทีโดยไม่แผ่แม่เบี้ย ตำแหน่งที่ถูกกัดมักเป็นที่มือและเท้า พิษของงูเห่าเป็นพิษต่อระบบประสาท Neurotoxin และมีพิษทำลายเนื้อเยื่อ

เมื่อไรจึงรู้ว่าถูกงูเห่ากัด

งูเห่า
แผลงูกัด


พิษเฉพาะที่ [local poisoning] งูเห่ากัด

หนังตาตก

พิษโดยทั่วไป [Systemic poisoning ] งูเห่ากัด

ตั้งแต่ถูกงูกัดจนกระทั่งหยุดหายใจอาจกินเวลาประมาณ 8-24 ชั่วโมงขึ้นกับปริมาณของพิษงูที่ได้รับ ถ้าได้รับพิษมากอาจเกิดอาการใน 1 ชั่วโมง หลังจากถูกงูกัด 1ชั่วโมงถ้ายังไม่เกิดอาการบวมและเมื่อถึง 2 ชั่วโมงก็ยังไม่มีอาการแต่อย่างใดย่อมแสดงว่าไม่มีพิษทั่วไป

การปฐมพยาบาลทันที

  1. ใจเย็น ๆ: การตื่นตระหนกอาจทำให้อาการแย่ลงและเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจได้
  2. ตรึงบริเวณนั้น: รักษาแขนขาที่ถูกกัดให้อยู่นิ่งๆ และต่ำกว่าระดับหัวใจเพื่อชะลอการแพร่กระจายของพิษ
  3. ขอความช่วยเหลือจากแพทย์ทันที: โทรเรียกบริการฉุกเฉินหรือไปโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด

การรักษาพิษงูเห่า

การป้องกัน

ข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อสงวนสิทธิ์

ข้อมูลนี้ไม่สามารถใช้ทดแทนคำแนะนำทางการแพทย์จากผู้เชี่ยวชาญได้ควรไปพบแพทย์ทันทีหลังถูกงูกัด

กลับหน้าเดิม

หน้าหลัก ชนิดของู พิษของงู การดูแลเบื้องต้น การประเมินความรุนแรง การรักษา การให้เซรุ่ม งูเห่างูจงอาง งูสามเหลี่ยม งูกะปะ งูแมวเซา งูเขียวหางไหม้ รายละเอียดงูพิษกัด

เพิ่มเพื่อน