jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

การรักษาผู้ที่มีอาการแน่นท้องที่ยังไม่ได้หาสาเหตุ



แนวทางที่จะจัดการกับผู้ป่วยที่มีอาการแน่ท้องที่ยังไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัยมีดังนี้

ให้การรักษาด้วยยาลดกรดแล้วจึงตรวจหาสาเหตุเมื่อการรักษาไม่ได้ผล Empiric antisecretory therapy

จากการศึกษาพบว่าการให้ยาลดกรด(omprazole 10 mg ต่อวัน )จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นร้อยละ 41 และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นร้อยละ 15 การให้ยาแบบครอบคลุม(Empyrical treatment)จะให้ใน

อาจพิจารณาให้ยาแบบครอบคลุม ได้แก่

หากไม่ตอบสนองต่อยากลุ่มแรกหลังได้ยาเป็นเวลา 2-4 สัปดาห์ พิจารณาเปลี่ยนเป็นยาอีกกลุ่มหนึ่งได้  กรณีที่ผู้ป่วยมีทั้งอาการปวดหรือแสบและแน่นท้องรุนแรงใกล้เคียงกัน อาจพิจารณาให้ยาทั้งสองกลุ่มร่วมกันได้

การส่องกล้อง Early endoscopy

การส่องกล้องจะทำให้ทราบสาเหตุของอาการแน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย และสามารถแยกโรคร้ายแรงเช่นมะเร็งทางเดินอาหาร แต่เนื่องจากแพทย์ที่สามารถส่องกล้องได้มีจำนวนจำกัด ดังนั้นการคัดเลือกผู้ป่วยที่รักษาแล้วไม่ดีขึ้นหรือมีภาวะที่อาจจะเป็นโรคร้ายดพื่อส่องกล้องน่าจะเป็นแนวทางที่เหมาะสม แต่หากทำได้ก็น่าจะส่องกล้องก่อนการรักษา

Test and treat strategy

การทดสอบหาเชื้อ H. pylori ซึ่งสามารถทดสอบได้จากการหายใจ การตรวจอุจาระ หรือการตรวจเลือดเพื่อหาภูมิต่อเชื้อหากพบเชื้อก็ให้การรักษาพบว่าผู้ป่วยจำนวนหนึ่งดีขึ้นเนื่องจากผู้ป่วยร้อยละ50จะมีเชื้อนี้อยู่

สรุปแนวทางการรักษาอาการ Dyspsia



คำแนะนำการปฏิบัติตัว

การตรวจพิเศษ อาหารไม่ย่อย
เพิ่มเพื่อน