หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

เลือดออกทางเดินอาหารส่วนบน

เลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้นหมายถึงภาวะที่มีเลือดออกตั้งแต่หลอดอาหารจนถึงลำไส้เล็กส่วนต้น อาการที่มักจะนำผู้ป่วยมาโรงพยาบาลได้แก่อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายอุจาระเหลวสีดำ หากเสียเลือดมากจะมาด้วยอาการเป็นลมหมดสติ

สาเหตุของเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น

สาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดคือโรคกระเพาะอาหาร และหลอดเลือดหลอดอาหารโป่งพองจากตับแข็ง สาเหตุอื่นๆที่พบได้คือ

สาเหตุอื่นๆที่พบได้แก่

ปัจจัยเสี่ยงการเกิดเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น

สาเหตุของการเกิดเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้นคือโรคกระเพาะอาหาร ดังนั้นปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกระเพาะอาหารจะเป็นปัจจัยเสี่ยงในการเกิดเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น ปัจจัยดังกล่าวได้แก่

ปัจจัยเสี่ยงของการมีเลือดออกซ้ำ และเพิ่มอัตราการเสียชีวิต



การประเมินสาเหตุและความรุนแรงของโรคเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น

การประเมินสาเหตุและความรุนแรงของเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้นจะประเมินจาก


ถ่ายอุจาระดำ

การตรวจร่างกายของแพทย์เพื่อประเมินความรุนแรงของโรคและหาสาเหตุ

ประเมินความรุนแรงของการเสียเลือด


ไม่พบโลหิตจาง

เปลือกตาคนปกติสีแดงที่เปลือกตาติดกับขนตา จะสีเหมือนเปลือกตาที่ติดตาขาว



ภาวะโลหิตจาง

เปลือกตาของคนที่ซีดสีเปลือกตาด้านนอก จะซีดมากกว่าเปลือกตาที่ติดตาขาว



นมโต

เต้านมโต





ท้องมานมีน้ำในท้องและเส้นเลือดโป่ง


การวินิจฉัยโรค

ผู้ป่วยที่มีเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้นต้องได้รับการรักษาเบื้องต้นจนกระทั่งสัญญาณชีพคงทีจึงจะไปทำการส่องกล้อง gastroscope โดยมากมักจะส่องภายใน 24 ชั่วโมง เจาะเลือดตรวจ

เมื่อไรจะต้องนอนโรงพยาบาล

เกณฑ์การนอนโรงพยาบาลได้แก่

เมื่อไรจะสงสัยว่าเลือดออกจากหลอดอาหารโป่งพอง

หากสงสัยว่าเลือดออกจากหลอดเลือดโป่งพองต้องให้นอนโรงพยาบาล

การรักษาโรคเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น

การดูแลรักษาเบื้องต้น ในผู้ป่วย UGIB

โดยทั่วไปแล้วภาวะ โรคเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น UGIB จะหยุดได้เองแต่ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตก็คือ โรคประจำตัวของผู้ป่วย และภาวะเลือดออกซ้ำ rebleeding ซึ่งในที่นี้ต้องอาศัยการรักษาเพื่อห้ามหยุดเลือด เช่น

แต่ในระยะเบื้องต้นสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการ

ประโยชน์และเทคนิคเบื้องต้น Endoscopic therapy

รูปร่างและลักษณะของแผลจะสามารถพยากรณ์ภาวะ rebleeding ได้เช่น

เทคนิคของ endoscopic therapy หลัก ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ injection therapy และ thermo coagulation โดยทั่วไปแล้ว injection therapy จะสามารถหยุดเลือดได้ชั่วคราวเท่านั้น ส่วนการทำ thermo coagulation ด้วย heater probe หรือ bipolar probe จะสามารถหยุดเลือดได้ถาวรกว่าเพราะสามารถทำลายเส้นเลือดที่ผิดปกติปรกติได้เลย
โดยสรุปการทำ endoscopic therapy จะสามารถหยุดเลือดได้ประมาณ 90% ของผู้ป่วยทั้งหมด

การป้องกันภาวะ rebleeding หลังการหยุดเลือดด้วย Endoscopic therapy

ในอดีตมีการใช้ยาหลายชนิดเพื่อห้ามเลือดในระยะแรกหรือป้องกัน rebleeding หลังเลือดหยุดแล้ว การให้ยาประเภท vasopressin, somatostatin และ octrcotide ซึ่งทำให้เกิดภาวะ splanchnic vasoconstriction หรือยากลุ่ม antifibrinolytic agents เช่น tramexamic acid นั้นไม่ เกิดประโยชน์มากนักในภาวะดังกล่าว ซึ่งก็อาจเป็นเพราะว่า ย่ากลุ่มเหล่านี้ไม่สามารถเพิ่ม gastric PH ได้ เพราะการที่มีภาวะความเป็นกรดสูงในกระเพาะนั้น pepsin จะถูก active และเกิดการสลาย clot ขึ้นได้
จากข้อมูลในอดีต การให้ antacid มีประโยชน์น้อยมากในการห้ามเลือดในภาวะนี้ ส่วนการให้ H2RA ทางเส้นเลือดพบว่าสามารถลดอุบัติการณ์ของ stress related hemorrhage ได้ แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่า ยากลุ่มนี้จะสามารถเพิ่ม gastric PH ให้เป็นมากกว่า 4 ได้ 65-85% ต่อวัน แต่ก็ยังไม่สามารถรักษาภาวะ UGIB ในกรณีที่เกิดจากแผลได้ ปัญหาที่สำคัญอีกอย่างก็คือยากลุ่มนี้สามารถทำให้เกิดภาวะ tachyphylaxis หลังการใช้มานานกว่า 72 ชั่วโมง
ยาในกลุ่ม PPI ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถเพิ่ม gastric PH ให้มากกว่า 6 ได้ ถึง 84-99% ต่อวัน โดยที่กลไกการทำงานของยากลุ่มนี้คือ การกดการสร้างกรดจาก active parietal cell จากการศึกษาในอดีตพบว่าการใช้ omepazole ขนาด 80 mg bolus และตามด้วย continuous infusion ที่ 8 mg/hr สามารถลดอุบัติการณ์ rebleeding ได้
ผลการศึกษาการใช้ยา PPI, ในภาวะ UGIB การให้ยา PPI แบบ intermiltent bolus หรือ continuous infusion ก็มีผลต่อภาวะ rebleeding

ผลของการใช้ยา IV Proton pump inhibitor

ยา Pantoprazole ถือว่าเป็นยากลุ่ม PPI ที่สามารถให้ทาง IV ได้นอกเหนือจาก omeprazole โดยการให้ทางเส้นเลือดที่ขนาด 40 mg และทางปากเท่ากัน สามารถรักษาระดับ gastric PH ได้มากกว่า 3 ตลอดการให้ 5 วัน ส่วนการให้ยาตัวนี้แบบ continuously ก็สามารถรักษาระดับ PH ให้สูงไปได้อีกถึง 4-6 ที่ 84-99% ต่อวัน
ในทางปฏิบัติยากลุ่ม Proton pump inhibitors นั้นมีประโยชน์อย่างมากเพราะสามารถให้ได้ทั้งทางปาก oral และทางหลอดเลือด IV โดยที่ขนาดของยาไม่ต้องมีการปรับมาก และจำได้ค่อนข้างง่าย ทำให้มีความสะดวกในการใช้ นอกจากนี้ภาวะความปลอดภัยในการใช้ ก็มีสโดยที่ขนาดของยาไม่ต้องมีการปรับมากและจำได้ค่อนข้างง่าย ทำให้มีความสะดวกในการใช้ นอกจากนี้ภาวะความปลอดภัยในการใช้ ก็มีสูงและ Drug interaction ก็ไม่เป็นปัญหา ในขณะนี้เริ่มมีรายงานของการศึกษา การใช้ยาเหล่านี้ในการป้องกันภาวะ rebleeding ซึ่งผลเบื้องต้นบ่งถึงแนวโน้มว่า ยาเหล่านี้อาจจะเป็นทางเลือกที่น่าสนใจในการใช้ในลักษณะดังกล่าว

การรักษาเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้นที่ไม่ใช่เลือดออกจากหลอดเลือดโป่งพอง

การรักษาเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้นที่ไม่ใช่เกิดจากหลอดเลือดโป่งพองจะใช้การส่องกล้อง gastroscope

การดูแลผู้ป่วยเลือดออกจากหลอดเลือดอาหารโป่งพอง

ผู้ป่วยที่รับประทานยา NSAIDs, aspirin or clopidogrel เมื่อมีเลือดออกจะต้องทำอย่างไร

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต