jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

ภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยโรคไต


โรคไตแบ่งออกเป็นห้าระยะดังกล่าวข้างต้นโดยดูจากอัตราการกรองของไต โรคแทรกซ้อนจะเกิดตั้งแต่ระยะที่สามของโรค

จะรู้ได้อย่างไรว่าโลหิตจางหรือซีด

เล็บซีด

ฐานเล็บจะซีดอย่างชัดเจน

ฝ่ามือซีด

ฝ่ามือจะซีด

ภาวะโลหิตจางหมายถึง ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงน้อย ซึ่งจะมีอาการดังนี้

สาเหตุของโลหิตจางมีอะไรบ้าง

สาเหตุของโลหิตจางมีหลายสาเหตุดังนี้

ทำไมโรคไตจึงมีภาวะโลหิตจาง

ไตทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนตัวหนึ่งชื่อ Erythropoetine ที่กระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง เมื่อไตเสื่อไม่สามารถสร้างฮอร์โมนนี้อย่างเพียงพอจึงทำให้เกิดโลหิตจางโดยเฉพาะกลุ่มโรคไตดังต่อไปนี้

จะรู้ได้อย่างไรว่ามีโลหิตจาง

แพทย์จะเจาะเลือดตรวจหากระดับ Hemoglobin (Hb) ต่ำกว่า 12.0 และ 13.5 g/dLในหญิงและชายตามลำดับจะถือว่ามีโลหิตจาง แนวทางการดูแลผู้ที่มีโลหิตจางในโรคไตมีดังนี้

โรคโลหิตจางจะแพร่หลายมากขึ้นเมื่อการทำงานของไตลดลง ภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรง (เช่น Hb < 10.0 g/L) เนื่องจาก CKD เป็นเรื่องผิดปกติก่อนไตเสื่อมระยะ G3b ควรพิจารณาหาสาเหตุอื่นของโลหิตจางเสมอ การจัดการ “ภาวะโลหิตจางในไต” มักจะประกอบด้วยสารกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง erythropoietin และ / หรือการเสริมธาตุเหล็ก การรักษาโรคโลหิตจางในผู้ป่วยที่เป็นโรค CKD จะทำให้คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไตเสื่อมช้าลง และลดผลเสียด้านระบบหัวใจและหลอดเลือด

การจัดการภาวะโลหิตจางใน CKD

กลับไปอ่านการรักษาโรคไต

ทบทวนวันที่

โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

Google
 

เพิ่มเพื่อน