หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน
การรักษาโรคริดสีดวงแบ่งออกเป็น
การรักษาทั่วไปจะเป็นการรักษาหลักใช้ได้กับริดสีดวงทุกระดับ และเสริมกับการรักษาด้วยวิธีอื่น วัตถุประสงค์คือให้การขับถ่ายอุจาระสะดวก ไม่ต้องเบ่งรุนแรง และระงับอาการที่ก่อให้เกิดความรำคาญมีวิธีการดังนี้
การรักษาเฉพาะเจาะจงมีหลายวิธี การเลือกวิธีการรักษาขึ้นกับระยะของโรค อุปกรณ์ที่มีอยู่ ความชำนาญของแพทย์ และสถานที่ที่ทำการรักษา
วัตถุประสงค์
เพื่อทำให้หัวริดสีดวงยุบลง โดยฉีดยาเข้าไปใน ชั้นใต้เยื่อบุ (submucosa) ในระดับที่อยู่เหนือ dentate line ทำให้เกิดพังผืดรัดเส้นเลือด บริเวณริดสีดวง และรั้งเนื้อเยื่อริดสีดวงไม่ให้เลื่อนตัวลงมา
ข้อบ่งชี้
การดูแลรักษาหลังฉีดยา
ให้การรักษาระดับทั่วไป ผลข้างเคียง อาจทำให้เวียนศรีษะ และระคายเคืองทวารหนักเป็นระยะเวลาสั้น ๆ ได้
วัตถุประสงค์
เพื่อรัดให้หัวริดสีดวงหลุดออก และพังผืดที่เกิดจากแผลจะรั้งริดสีดวงที่เหลือให้หดกลับเข้าไปในทวารหนัก ข้อบ่งชี้ หัวริดสีดวงที่ย้อย และมี ขั้วขนาดเหมาะที่จะรัดได้
ข้อพึงระวัง
เครื่องมือ
ตำแหน่ง
รัดที่ขั้วริดสีดวง ซึ่งควรจะอยู่เหนือ dentate line ประมาณ 1 ซม. จำนวน ครั้งละตำแหน่ง หรือมากกว่า แต่ไม่ควรเกิน 3 ตำแหน่ง การรัดเพิ่มเติม ทำได้ทุก 3-4 สัปดาห์
การดูแลรักษาหลังการรัดยาง
ผลข้างเคียง
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ริดสีดวงทวารยุบลง และหยุดเลือดออก ข้อบ่งชี้ ริดสีดวงในระยะที่หนึ่งและสอง เครื่องมือ infrared photocoagulator
ตำแหน่ง
จี้เหนือ dentate line ประมาณ 1 ซม. โดยจี้ประมาณ 3 จุด ต่อ 1 หัวริดสีดวงทวาร และสามารถจี้ได้ทั้ง 3 หัว ในการรักษาหนึ่งครั้ง รักษาเพิ่มเติม ทุก 3-4 สัปดาห์
ผลข้างเคียง
อาจเกิดเลือดออกจากแผลได้หลังการจี้ 1-2 สัปดาห์ แต่มักจะไม่มากและหยุดเองได้
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ริดสีดวงทวารยุบลง และหยุดเลือดออก
ข้อบ่งชี้
ริดสีดวงทวารระยะที่หนึ่งและสอง
เครื่องมือ
bipolar forceps และเครื่องจี้ไฟฟ้า
ตำแหน่ง จี้เหนือ dentate line บริเวณขั้วริดสีดวง อาจจี้ได้ถึง 3 หัว ในการรักษาหนึ่งครั้ง การรักษาเพิ่มเติม ทุก 3-4 สัปดาห์
ผลข้างเคียง
อาจมีเลือดออกเล็กน้อยในสัปดาห์ที่ 1 และ 2
โรคริดสีดวง | การดูแลตัวเอง | การรักษาโรคริดสีดวง | การรักษาโรคริดสีดวงที่มีโรคแทรกซ้อน