หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

การดูแลคนตั้งครรภ์ที่ป่วยด้วยกรวยไตอักเสบ

ผู้ที่ตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างที่เพิ่มความเสี่ยงในการตอดเชื้อ เช่นมีการขยายของท่อปัสสาวะ ureter ไต กระเพาะปัสสาวะ ซึ่งจะเริ่มประมาณสัปดาห์ที่7 ของการตั้งครรภ์ และกลับสู่ปกติหลังจากคลอด 8 สัปดาห์

แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนให้เพาะเชื้อจากปัสสาวะที่ 16 สัปดาห์ หากไม่มีเชื้อแบคทีเรียก็ไม่ต้องทำอะๆไร หากคนตั้งครรภ์นั้นมีประวัติการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะซ้ำ ควรจะต้องตรวจ nitrite dipstick หรือนำปัสสาวะปั่นเพื่อย้อมสีหาเชื้อแบคทีเรีย urine Gram stain เพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรียหากตรวจพบเชื้อแบคทีเรียโดยที่ไม่มีอาการ แนะนำให้

การรักษาเชื้อแบคทีเรียในปัสสาวะจะป้องกันการเกิดกรวยไตอักเสบ ไม่ควรใช้ Fluoroquinolones และ aminoglycosidesเนื่องจากมีผลเสียต่อเด็ก

สำหรับคนท้องที่ป่วยเป็นกรวยไตอักเสบ

อาการกรวยไตอักเสบเหมือนกับคนที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ ยาปฏิชีวนะสำหรับรักษาโรคกรวยไตอักเสบสำหรับคนตั้งครรภ์ได้แก่ ampicillin และ gentamicin เข้าทางหลอดเลือดดำ และตามด้วยยารับประทานให้ครบ 14 วัน หลังจากรักษาครบ 2 สัปดาห์ให้นัดเพาะเชื้อปัสสาวะซ้ำเพื่อตรวจว่าได้กำจัดเชื้อหมดหรือยัง และให้เพาะเชื้อจากปัสสาวะทุกเดือน

สำหรับผู้ที่ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะซ้ำ หรือต้องใช้ยาหลายชนิดเพื่อรักษาโรค ผู้นั้นควรจะได้รับยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อด้วยยา cephalexin หรือ nitrofurantoin

Table 4. ยาที่ใช้รักษาโรคกรวยไตอักเสบสำหรับคนตั้งครรภ์

กรวยไตอักเสบอาการไม่รุนแรง
  • ceftriaxone (Rocephin) 1 g ให้ทางหลอดเลือดทุก 24 ชั่วโมง หรือ
  • cefepime (Maxipime) 1 gให้ทางหลอดเลือดทุก 12 ชั่วโมง หรือ
  • cefotaxime (Claforan) 1-2 gให้ทางหลอดเลือดทุก 8 ชั่วโมง หรือ
  • ceftazidime (Fortaz, Tazicef) 2 gให้ทางหลอดเลือดทุก 8 ชั่วโมง หรือ
  • ampicillin 1-2 g IV q6h plus  gentamicin IV 1.5 mg/kg q8ชั่วโมง
กรวยไตอักเสบอาการรุนแรง
If patient is immunocompromised and/or has incomplete urinary drainage:

 

 







เกี่ยวกับโรคไต
โรคไต 
โรคไตวายเรื้อรัง 
โรคต่อมลูกหมาก 
ทางเดินปัสสาวะอักเสบ 
นิ่วในไต 
ปัสสาวะรดที่นอน 
อาการโรคไต 
โรคไตจากยา 
การตรวจโปรตีนในปัสสาวะ 
โรค Nephrotic syndrome