หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน
แม้ว่าการออกกำลังกายจะมีประโยชน์มากมาย แต่ก็อาจจะมีโทษหรือผลเสียสำหรับคนบางกลุ่ม กลุ่มคนเหล่านี้สมควรที่ปรึกษาแพทย์ เพื่อประเมินว่าจะออกกำลังได้หรือไม่ จะออกกำลังอย่างไร หนักแค่ไหน การออกกำลังกายหนักปานกลางจะมีประโยชน์ในการป้องกันโรค หากท่านมีโรคประจำตัวเหล่านี้ควรจะต้องพบแพทย์ก่อนออกกำลังกาย
สมาคมแพทย์ American college sport and medicine ได้แนะนำว่าหากจะออกกำลังกายอย่างหนักหากมีอาการมากกว่า 2 ข้อจะต้องปรึกษาแพทย์ก่อนออกกำลังกาย
การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจมากกว่า 2 ข้อ
คนที่มีปัจจัยเสี่ยง 2 ข้อ | คนที่มีโรค | ||||
ความหนักของการออกกำลัง | คนหนุ่ม | คนแก่ | ไม่มีอาการ | ||
ปานกลาง | ไม่ต้องตรวจ | ไม่ต้องตรวจ | ไม่ต้องตรวจ | ต้องตรวจ | |
หนัก | ไม่ต้องตรวจ | ต้องตรวจ | ต้องตรวจ | ต้องตรวจ | |
อายุน้อยกว่า40,50ใน ชายและหญิง ปัจจัยเสี่ยงได้แก่ สูบบุหรี่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคหัวใจก่อนวัย โรคหัวใจ โรคปอด โรคประจำตัวอื่นๆ |
เรื่องเกี่ยวกับการออกกำลังกายที่น่าสนใจ |
แพทย์จะประเมินสุขภาพของท่าน บางรายอาจต้องตรวจหัวใจโดยการวิ่งสายพาน treadmill exercise
หากขณะออกกำลังกายและเกิดอาการดังต่อไปนี้ ท่านควรจะหยุดการออกกำลังกาย และปรึกษาแพทย์
ทบทวน12-Dec-2014
การออกกำลัง | เมื่อไร่ต้องปรึกษาแพทย์ | ตะคริว | คำนิยาม | ออกกำลังแค่ไหนถึงพอ | ออกกำลังอย่างปลอดภัย | วิธีออกกำลัง | การประเมินการออกกำลัง | จะออกกำลังนานแค่ไหน | การอุ่นร่างกาย | ทำไมต้องออกกำลัง | การดื่มน้ำก่อนออกกำลังกาย | ออกกำลังกายมากไป
เอกสารอ้างอิง
การออกกำลังกาย | คำนิยามการออกกำลังกาย |