jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

ประโยชน์ของไข่

 

แพทย์และนักวิทยาศาสตร์ได้แนะนำให้ลดการบริโภคไข่เนื่องจากไข่มีไข่มันอิ่มตัวสูงซึ่งทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด แต่ปัจจุบันได้มีการศึกษาพบว่าการรับประทานไข่่มีผลต่อระดับคอเลสเตอรอลในเลือดเพียงเล็กน้อย นอกจากนั้นไข่ยังมทั้งโปรตีน วิตามินบี 12 และ วิตามินD riboflavin และโฟเลต ซึ่งจะช่วยลดการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ล่าสุดมีการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการบริโภคไข่ในระดับปานกลาง (วันละฟอง)ขึ้นไป่ไม่ได้เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจในคนที่มีสุขภาพดี สำหรับผู้ที่คุมระดับคอเลสเตอรอลในเลือดไม่ดี หรือผู้ป่วยโรคหัวใจและโรคเบาหวานการรับประทานไข่มากไปทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจเพิ่มมากขึ้นแนะนำให้เลือกรับประทานไข่ขาว หรือรับประทานไข่ไม่เกิน 3 ฟองต่อสัปดาห์

การรับประทานไข่จะต้องคำนึงถึงการปรุงจะต้องพยายาลลดการใช้น้ำมัน ไส้กรอก ขนมปัง เกลือ และอื่นๆที่มีผลเสียต่อสุขภาพ

ไข่จัดอยู่ในหมู่อาหารชั้นยอดที่มีคุณค่าต่อการบำรุงสุขภาพที่ได้มีการศึกษา

ไข่

1ไข่อุดมไปด้วยสารอาหารครบถ้วน

ไข่มีคุณค่าทางโภชนาการอุดมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ไข่หนึ่งใบจะให้คุณค่าทางอาหารได้แก่

ไข่หนึงฟองจะให้พลังงาน 77 แคลอรี่ มีโปรตีน 6 กรัมและ ไขมัน 5 กรัม

ไข่ยังมีสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อสุขภาพของร่างกาย หากเป็นไข่ที่มีโอเมก้า 3 จะทำให้ได้คุณค่าทางอาหารเพิ่มขึ้น

สรุปไข่เป็นอาหารที่อุดมไปด้วยสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย


 

2การรับประทานไข่อาจจะไม่มีผลต่อไขมันในเลือด

ไข่มีคอเลสเตอรอลสูง แต่พวกเขาทำไม่ได้ส่งผลกระทบต่อคอเลสเตอรอลในเลือด

ไขมันในเลือดเรามาจากสองแหล่งคือจากการสร้างที่ตับ และจากอาหาร เมื่อเรารับประทานอาหารที่มีไขมันคอเลสเตอรอลตับจะสร้างน้อยลง หากเรารับประทานคอเลสเตอรอลน้อยตับก็จะสร้างมากขึ้น

ไข่หนึ่งฟองจะมีคอเลสเตอรอล 212 มิลลิกรัมซึ่งเป็นมากกว่าครึ่งหนึ่งของปริมาณที่แนะนำต่อวันคือ 300 มิลลิกรัม คอเลสเตอรอลถูกสร้างจากตับด้วยในปริมาณที่มาก การรับประทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูงก็อาจจะไม่ทำให้ไขมันสูง ขึ้นกับการสร้างคอเลสเตอรอลที่ตับ คอเลสเตอรอลในเลือดของผู้ที่รับประทานไข่จะผันผวนในแต่ละคน

สรุป

ไข่เป็นอาหารที่มีปริมาณคอเลสเตอรอลสูงซึ่งคนส่วนใหญ่เมื่อรับประทานไข่ระดับคอเลสเตอรอลจะสูงขึ้นเล็กน้อย แต่สำหรับคนที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคไขมันในเลือดสูงควรจะลดปริมาณอาหารไขมัน สำหรับผู้ที่มีไขมันในเลือดสูงหากจะรับประทานไข่ต้องตรวจระดับไขมันของท่านเป็นระยะและปรับอาหารตามระดับไขมันของท่าน

3 ไข่เพิ่ม HDL ("ไขมันดี") คอเลสเตอรอล

ไขมัน

HDL ย่อมาจาก Lipoprotein ความหนาแน่นสูง มันมักจะเป็นที่รู้จักกันเป็นคอเลสเตอรอล "ดี"

คนที่มีไขมัน HDL อยู่ในนระดับสูงของ มักจะมีลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองและปัญหาต่างๆสุขภาพลดลง มีการศึกษาพบว่าการรับประทานไข่วันละ 2 ฟองต่อวันร่วมกับการลดอาหารจำพวกแป้งเป็นเวลา 6 สัปดาห์จะมีการเพิ่มขึ้นระดับ HDL 10% สรุป การบริโภคไข่ร่วมกับการจำกัดอาหารประเภทแป้งสามารถเพิ่มระดับไขมัน HDL ("ดี") คอเลสเตอรอลซึ่งเชื่อมโยงกับการลดความเสี่ยงของโรคต่างๆ

4ไข่มีสารโคลีน

 

ไข่มีสารโคลีนเป็นสารอาหารที่สำคัญสำหรับการสร้างเยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งจะมีบทบาทเรื่องการส่งสัญญาณไฟฟ้าในสมอง จากการสำรวจที่ประเทศอเมริกาพบว่าคนเกือบร้อยละ90ได้รับสารโคลีนต่ำกว่ามาตรฐาน ไข่ทั้งเป็นแหล่งที่ดีของโคลีน ไข่ใบเดียวมีมากกว่า 100 มิลลิกรัมของสารอาหารที่สำคัญอย่างนี้

สรุปเพียงแค่ไข่ใบเดียวท่านก็จะได้รับสารโคลีนอย่างเพียงพอ

แต่ก็เป็นสารสำคัญอย่างเหลือเชื่อและมักจะถูกจัดกลุ่มที่มีวิตามินบี

โคลีนถูกนำมาใช้ในการสร้างเยื่อหุ้มเซลล์และมีบทบาทในการผลิตโมเลกุลสัญญาณในสมองพร้อมกับฟังก์ชั่นอื่น ๆ (17) ก

การสำรวจการบริโภคอาหารที่มีการแสดงให้เห็นว่าประมาณ 90% ของคนในสหรัฐฯจะได้รับน้อยกว่าจำนวนเงินที่แนะนำของโคลีน (18)

5ไข่เปลี่ยนคอเลสเตอรอลจากขนาดเล็กเป็นขนาดใหญ่

ไขมัน

ไข่เปลี่ยนคอเลสเตอรอลจากขนาดเล็กเป็นขนาดใหญ่หนาแน่นซึ่งลดความเสี่ยงของโรคหัวใจ

เป็นที่ทราบกันดีว่ามี LDLระดับสูง จะเชื่อมโยงกับการเพิ่มความเสี่ยงของโรคหัวใจ นอกจากนั้นยังขึ้นกับขนาดของอนุภาค LDL กล่าวคือ LDL ที่มีขนาดเล็กจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจสูงกว่าผู้ที่มี LDL ขนาดใหญ่ ไข่มีแนวโน้มที่จะเปลี่ยน LDL ขนาดเล็กให้เป็นขนาดใหญ่ซึ่งจะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ

สรุปไข่แม้ว่าจะมีการเพิ่มของคอเลสเตอรอลบ้างแต่การมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอนุภาค LDL จากขนาดเล็ก LDL ความหนาแน่นสูง (ที่ไม่ดี) เพื่อ LDL ขนาดใหญ่ซึ่งมีการเชื่อมโยงกับความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจลดลง

6. ไข่ประกอบด้วยลูทีน และซีแซนทีนซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประโยชน์ที่สำคัญสำหรับสุขภาพตา

ตา

การมองเห็นจะเสื่อมตามอายุโรคที่พบบ่อยคือต้อกระจกและจอประสาทตาเสื่อม

มีสารอาหารหลายอย่างที่ช่วยต่อสู้กับกระบวนการเสื่อมของ ในไข่จะมี ดวงตาของเรามี ลูทีน และ ซีแซนทีน ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพในการที่จะสร้างเรตินาของตา จากการศึกษาพบว่าการบริโภคสารทั้งสองอย่างเพียงพอสามารถลดความเสี่ยงของโรคต้อกระจกและจอประสาทตาเสื่อม

ไข่แดงจริง ลูทีน และ ซีแซนทีน จำนวนมาก นอกจากนั้นไข่ยังมีวิตามินเอสูงซึ่ป้องกันตาบอดกลางคืน

สรุป สารต้านอนุมูลอิสระ ลูทีน และซีแซนทีนที่มีความสำคัญมากสำหรับสุขภาพตาและสามารถช่วยป้องกันการเสื่อมสภาพและต้อกระจก

7ไข่มีโอเมก้า 3 หรือไข่ที่แม่ไก่เลี้ยงในทุ่งหญ้ามีคูรค่าทางอาหารสูง

ในกรณีที่ไข่มีโอเมก้า 3 หรือไข่ที่แม่ไก่เลี้ยงในทุ่งหญ้า ไข่เหล่านี้จะลด Triglycerides ได้เป็นอย่างดี

ไข่จากแม่ไก่ที่ได้รับการเลี้ยงในทุ่งหญ้าและ / หรือเลี้ยงโอเมก้า 3 จะมีปริมาณของกรดไขมันโอเมก้า 3 สูง

กรดโอเมก้า 3 เป็นไขมันที่ลดระดับของไตรกลีเซอไรด์ในเลือดซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจ มีการศึกษาพบว่าการบริโภคไข่ที่มีโอเมก้า 3 เพียง 5 ฟองต่อสัปดาห์เป็นเวลา3 สัปดาห์ สามารถลดไตรกลีเซอไรด์ลง 16-18%

สรุป การรับประทานไข่ที่เลี้ยงด้วยอาหารจากทุ่งหญ้าหรือเลี้ยงด้วยอาหารที่มีโอเมกา3 มากจะสามารถลดระดับ ไตรกลีเซอไรด์ในเลือด

8. ไข่มีโปรตีนที่มีคุณภาพ และมีกรดอะมิโนในที่จำเป็นสูง

โปรตีนเป็นสารอาหารที่มีความสำคัญในการสร้างเซลล์ อวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆ การรับประทานโปรตีนอย่างเพียงพอจึงมีความสำคัญต่อร่างกาย ไข่เป็นแหล่งที่ดีของโปรตีน ไข่ใบใหญ่จะมีโปรตีน 6 กรัม นอกจากนั้นไข่ยังมีกรด

อะมิโนที่จำเป็นในอัตราส่วนที่เหมาะสมเพื่อให้ร่างกายของเราใช้โปรตีนอย่างมีประสิทธิภาพ

การรับประทานอาหารโปรตีนที่เพียงพอจะช่วยในการลอน้ำหนัก เพิ่มมวลกล้ามเนื้อ ลดความดันโลหิตและเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพกระดูก

สรุป ไข่ที่ค่อนข้างสูงในโปรตีนจากสัตว์ที่มีคุณภาพและมีทั้งหมดกรดอะมิโนจำเป็นที่มนุษย์ต้องการ

9. ไข่ไม่ได้เพิ่มความเสี่ยงของโรคหัวใจและอาจลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด

มีการศึกษาว่าไขมันในเลือดสูงจะทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ไข่ก็มีปริมาณคอเลสเตอรอลสูงจึงเชื่อว่าการรับประทานไข่จะทำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้มีการศึกษา

ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคไข่และความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจพบว่าการบริโภคไข่ไม่ทำให้โรคหัวใจหรือโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น

แต่ก็มีบางการศึกษาพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานที่กินไข่มีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของการเกิดโรคหัวใจ

สรุป สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานแนะนำให้รับประทานอาหารที่มีแป้งต่ำ และหากจะรับประทานไข่ท่านต้องมั่นตรวจระดับไขมันในเลือด

10 รับประทานไข่ช่วยลดน้ำหนัก

โรคอ้วนเป็นปัญหาด้านสุขภาพมีหลายสาเหตุที่ให้เกิดโรคอ้วน คำแนะนำในปัจจุบันสำหรับการจัดการน้ำหนักคือกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมออกกำลังกายพร้อมกับการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพซึ่งรวมถึงธัญพืช, ผักผลไม้ โปรตีน ไขมันต่ำและผลิตภัณฑ์นมไขมันต่ำ วิจัยแสดงให้เห็นว่าการบริโภคโปรตีนสามารถช่วยทำให้อิ่มนาน ซึ่งทำให้น้ำหนักลดลง

11ลดการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

Cardiometabolic health เป็นคำใหม่ที่ใช้เป็นการรวมภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือดกับโรคทาง metabolic ได้แก่ เบาหวาน และโรคอ้วนลงพุง ภาวะดังกล่าวจะมีความเสี่ยงที่คล้ายกันได้แก่ อ้วนหรือน้ำหนักเกิน ความดันโลหิตสูงซึ่งสามารถควบคุมได้โดยการควบคุมอาหาร และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากข้อมูลล่าสุดพบว่าการรับประทานไข่ไม่ทำให้เกิดโรคหัวใจเพิ่มมากขึ้น แนวทางการรับประทานอาหารก็แนะนำให้รับประทานไข่เป็นส่วนหนึ่งของอาหารสุขภาพ

12การรับประทานไข่เพิ่มประสิทธิภาพของร่างกาย

โปรตีนที่เรารับประทานจะถูกนำไปสร้างกล้ามเนื้อ และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ไข่จะมีดปรตีนที่มีคุณภาพ ปัจจัยที่สำคัญคือ

สรุป

Risks of eating eggs

 

บรรณานุกรม