หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

การรักษาโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด


คลอพิโดเกรล (Clopidogrel)

คลอพิโดเกรลต้านเกล็ดเลือด ทำให้เกล็ดเลือดไม่จับกลุ่มกันผ่านกลไกคนละอันกับการออกฤทธิ์ของแอสไพริน คลอพิโดเกรล มีประสิทธิผลดีในการรักษาทั้ง ผู้ป่วยในกลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด UA/NSTEMI และกลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด STEMI.

สรุปได้ว่าการรักษาด้วย คลอพิโดเกรล ได้ผลดี

ผลข้างเคียง

สมาคมโรคหัวของอเมริกา ACC/AHA guidelines แนะนำว่ากรณีที่คาดหมายว่าจะมีการผ่าตัด CABG ควรงดยา คลอพิโดเกรล นาน 5 to 7 วันก่อนวันที่คาดว่าจะผ่าตัด

สรุป



ยากั้นเบต้า

อ่านยาปิดกั้นเบต้า

เฮปาริน

อ่านเรื่องเฮปาริน

Glycoprotein IIb/IIIa Inhibitors

อ่าน glycoproteine

Calcium Channel Blockers

ในกรณีที่มีข้อห้ามใช้ยากั้นเบต้า หรือเมื่อใช้ในขนาดเต็มที่แล้วยังไม่เห็นผล อาจใช้ยาในกลุ่ม calcium channel blocker แทนหรือร่วมด้วย (Class Indeterminate)  ยานี้ไม่มีหลักฐานว่าช่วยลดอัตราตายหลังเกิด MI และอาจเป็นอันตรายในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดบางราย ในอดีตมีการใช้ยานี้รักษาโรคหัวใจขาดเลือดมากเกินไปทั้งๆที่ยากั้นเบต้าให้ ผลดีกว่าและควรใช้มากกว่า

ACE Inhibitor

อ่าน ACE Inhitor

HMG Coenzyme A Reductase Inhibitors (Statins)

งานวิจัยหลายรายการสรุปได้ว่าการให้ยาในกลุ่ม statin แก่ผู้ป่วยในสองสามวันหลังเกิด ACS ทำให้ดัชนีบอกภาวการณ์อักเสบและภาวะแทรกซ้อนเช่น reinfarction, recurrent angina, และ arrhythmias ลดลงได้ มีหลักฐานน้อยมากที่สนับสนุนให้กินยานี้ในห้องฉุกเฉิน อย่างไรก็การให้กินยานี้ค่อนข้างเร็ว (ภายใน 24 ชั่วโมง) เป็นการกระทำที่ปลอดภัยและทำได้ในผู้ป่วยACS หรือ AMI ในกรณีที่ผู้ป่วยกินยานี้อยู่แล้วควรให้กินต่อโดยไม่ขาดตอน

การรักษา Arrhythmias

ส่วนนี้จะกล่าวถึงการรักษาหัวใจเต้นผิดปรกติ arrhythmias ในระหว่างเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน acute ischemia และ  infarction เท่านั้น
Ventricular Rhythm Disturbances
วิธี รักษา ventricular arrhythmias ในระหว่างและหลัง AMI เป็นเรื่องที่เถียงกันไม่จบมากว่า 20 ปีแล้ว 

ยากั้นเบต้าเป็นยาที่ควรให้มากที่สุดหากสามารถให้ได้ตั้งแต่ยังไม่เกิด VF ถ้ามีการใช้ lidocain ควรให้ต่อเนื่องไประยะหนึ่งแต่ไม่เกิน 24 ชม.เว้นเสียแต่มี VT ชนิดที่ทำให้เกิดอาการคงอยู่ไม่ยอมหายไป

หลักการรักษา | การรักษาทั่วไป | การรักษาเพื่อเพื่มเลือดไปเลี้ยงหัวใจ | การรักษาที่บ้าน