jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI)


กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดประกอบไปด้วย

ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะ ST Elevation MI



คำจำกัดความกล้ามเนื้อหัวใจตายจากขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI)



ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากขาดเลือด

ปัจจัยเสี่ยงที่พบได้บ่อย

ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย

สาเหตุของกล้ามเนื้อหัวใจตาย

สาเหตุเกิดจากการที่มีคราบ Plaque ที่เกาะตามผนังหลอดเลือดมีรอยปริหรือแตกทำให้เกล็ดเลือดมาจับเกิดเป็นลิ่มเลือด ลิ่มเลือดจะโตและมีขนาดใหญ่จนอุดหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หากผู้ป่วยพบแพทย์ทันก็ละลายลิ่มเลือดให้เลือดกลับไปเลี้ยงหัวใจ แต่หากมาไม่ทันกล้ามเนื้อหัวใจจะตาย

สาเหตุของการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย

อาการของโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย STEMI

อาการที่สำคัญคืออาการเจ็บหน้าอกซึ่งอาการเจ็บหรือแน่นหน้าอกจะเป็นมากกว่า นานกว่าที่เคยเป็น อมยาก็ไม่หาย และอาจจะมีอาการของโรคแทรกซ้อน เช่นหอบเหนื่อย หน้ามืดเป็นลม มือเท้าเย็น

อาการและการตรวจร่างกายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากเหตุขาดเลือด STEMI

การวินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตาย

การวินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตายต้องอาศัย

การวินิจฉัยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากเหตุขาดเลือด STEMI

การรักษากล้ามเนื้อหัวใจตายจากขาดเลือด

การรักษากล้ามเนื้อหัวใจตายชนิด STEMI จะต้องเริ่มที่บ้าน และต้องนำส่งโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด เพราะหากไปพบแพทย์เร็วผลการรักษาก็จะดี การรักษาจะต้องพยาบาลเปิดหลอดเลือดที่อุดตันซึ่งทำได้โดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด หรือการใสสายสวนหัวใจและทำบอลลูน หรือการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือด

การรักษาโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากเหตุขาดเลือด STEMI

โรคแทรกซ้อนของกล้ามเนื้อหัวใจตาย STEMI

โรคแทรกซ้อนที่สำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้แก่หัวใจเต้นผิดปกติ นอกจากนั้นยังพบว่าเกิดหัวใจล้มเหลว ลิ้นหัวใจรั่ว ความดันโลหิตต่ำ ช็อคหมดสติ เกิดลิ่มเลือด

โรคแทรกซ้อนโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากเหตขาดเลือด STEMI

การป้องกันกล้ามเนื้อหัวใจตาย STEMI

การป้องกันทำได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยงของการหลอดเลือดตีบ เช่น การงดบุหรือ ลดน้ำหนัก การออกกำลังกาย คุมโรคเบาหวาน ความดัน และไขมัน นอกจากนั้นยังต้องรับประทานยาตามแพทย์สัง

การป้องกันโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

การประเมินผูัป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย

การประเมินสภาพหัวใจหลังเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายได้แก่ การทำคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง การวิ่งสายพาน การฉีดสีดูหลอดเลือดหัวใจ

การประเมินผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย

ทบทวนวันที่

โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

Google
 
เพิ่มเพื่อน