หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน
การรักษาเบาหวานมุ่งเน้น เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงปกติ และป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว ในการรักษาเบาหวานมีหลักการที่สำคัญคือการควบคุมอาหาร และการออกกำลังกาย การรักษาจะไม่ได้ผลหากผู้ป่วยมาคุมอาหารหรือออกกำลังกาย ปัจจุบันการรักษาด้วยยา ได้รับความนิยมใช้ในการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่สอง เนื่องจากปัจจัยดังต่อไปนี้้
แต่อย่างไรก็ตามก่อนให้ยาเม็ดลดระดับน้ำตาลควรได้ควบคุมอาหาร และออกกำลังกายอย่างที่เสียก่อน
ยาเม็ดลดระดับน้ำตาลในเลือดมีกี่ประเภท เราแบ่งยาเม็ดลดระดับน้ำตาลออกเป็น 2 ประเภท
สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 แนะนำการใช้ยาดังนี้
ชื่อสามัญ | ขนาดเม็ด ( มก) | ขนาดยาต่อวัน (มก.) | วิธีการใช้ จำนวนครั้ง/วัน | ระยะเวลาออกฤทธิ์ (ชม.) | ทางขับยา |
Metformin | 500,850 | 500-3000 | 2-3 หลังอาหาร | 5-6 | ไต |
Acarbose | 50,100 | 150-300 | 3 พร้อมอาหาร |
|
ไม่ถูกดูดซึม |
Troglitazone | 200 | 200-600 | 1 | 9 |
|
Sulfonylurea |
|||||
Tolbutamide | 500 | 500-3000 | 2-3 | 6-10 | ไต 100% |
Chlorpropamide | 250 | 125-500 | 1 | 24-72 | ไต 100% |
Glibenclamide | 5 | 2.5-30 | 1-2 | 20-24 | ไต 50% |
Glipizide | 5 | 2.5-30 | 2 | 12-14 | ไต 85% |
Glicazide | 80 | 40-320 | 1-2 | 10-15 | ไต 60-70% |
Gliquidone | 30 | 15-120 | 1-2 | 8-12 | ไต5-10% |
Glimepiride | 1,2,3 | 1-6 | 1 | 24 | ไต 60% |
Repaglinide | 1,2,3 | 1-16 | 3 |
|
|
การดูแลโรคร่วม
การรักษาโรคเบาหวาน | การดูแลโรคแทรกซ้อน |
การรักษาเบาหวานด้วยยา
การควบคุมอาหาร | การออกกำลังกาย | การรักษาเบาหวานด้วยยา | การใช้อินซูลิน | การประเมินการรักษา | โรคเบาหวานกับสุภาพสตรี | โรคเบาหวานและการท่องเที่ยว | การดูแลเมื่อเวลาป่วย | เบาหวานกับเอสไพริน | การดูแลในช่องปาก | การดูแลผิวหนัง