หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

โรคแทรกซ้อนของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด STEMI.


โรคแทรกซ้อนของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด STEMI ที่สำคัญได้แก่

1.หัวใจวาย CHF

กล้ามเนื้อหัวใจที่เสียหายไม่สามารถบีบตัวได้อย่างเพียงพอทำให้เกิด โรคหัวใจวาย โดยมีข้อเท็จจริงดังนี้

การรักษาหัวใจวาย

หัวใจโต



2.ภาวะช็อคเนื่องจากหัวใจ Cardiogenic shock

ภาวะช็อคเนื่องจากหัวใจหมายถึงหัวใจไม่สามารถบีบตัวเพื่อเพิ่มความดันโลหิต systolic ให้มากกว่า 90 mmHg

3.ภาวะช็อคจากขาดน้ำ Hypovolemia

4.หัวใจเต้นผิดปรกติ Arrhythmias

สาเหตุของหัวใจเต้นผิดปรกติได้แก่

ผู้ป่วยมักจะเสียชีวิตภายในไม่กี่ชั่วโมงจากภาวะหัวใจเต้นผิดปรกติ การรักษาที่รวดเร็วโดยผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมจะช่วยชีวิตผู้ป่วย ชนิดของการเต้นผิดปรกติที่พบได้แก่

หัวใจผิดปรกติ Primary ventricular fibrillation (VF)

ภาวะนี้เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดโดยไม่มีปัจจัยชักนำเช่นหัวใจวาย หรือ ventricular aneurysm ภาวะนี้มักจะเกิดภายใน 48 ชั่วโมง แม้ว่าอัตราการเสียชิตในโรงพยาบาลจะสูง แต่หากรักษาได้ทันพบว่าผู้ป่วยจะมีอัตราการรอดชีวิตสูงในระยะยาว

หัวใจเต้นผิดปรกติ ventricular fibrillation เนื่องจากหัวใจวาย

หัวใจเต้นผิดปรกติ Accelerated idioventricular rhythm (AIVR)

ภาวะ AV block

เป็นภาวะที่กระแสไฟฟ้าไม่สามารถส่งผ่านจากหัวใจห้องบนมายังห้องล่างโดยมีการกั้นที่ตรงตำแหน่งเชื่อมต่อระหว่างหัวใจห้องบน และห้องล่าง อัตราการเสียชีวิตจะขึ้นกับหลอดเลือดที่อุดตัน หากการอุดตันเกิดที่หลอดเลือด anterior coronary จะมีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่า inferior coronary artery ทั้งนี้เนื่องจากจะสัมพันธ์กับพื้นที่เสียหายจากการขาดเลือด

5.เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ Pericarditis

ภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักจะเกิดในผู้ป่วยที่กล้ามเนื้อหัวใจเสียหายทุกชั้น transmural STEMI จะมีอาการเจ็บกล้ามเนื้อ trapezius muscle ซึ่งอยู่ด้านหลัง ซึ่งจะแตกต่างจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดซึ่งมักจะเจ็บด้านหน้า การรักษาภาวะนี้ใช้เพียงยาแก้ปวด aspirin วันละ 3-4 ครั้งบรรเทาอาการปวด หากเกิดโรคแทรกซ้อนนี้การให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดอาจจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน

6.ลิ่มเลือดในหัวใจThromboembolism

ผู้ป่วยที่เป็นกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและมีหัวใจวายจะพบว่าประมาณร้อยละ10 จะเกิดอาการของลิ่มเลือด แต่จากการตรวจศพผู้เสียชีวิตจะพบลิ่มเลือดร้อยละ 20 ของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตประมาณร้อยละ 25 ของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ควรจะให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดประมาณ 3-6 เดือนในราย

7.ผนังหัวใจโป่งพอง Ventricular aneurysm

8.กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดซ้ำ Recurrent angina

9.ลิ้วหัวใจรั่วเฉียบพลัน Mitral regurgitation

ผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดมีโอกาศที่จะเกิดลิ้นหัวใจรั่วเฉียบพลัน มักจะเกิดในวันแรก ผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยเฉียบพลัน มีน้ำท่วมปอด หัวใจวายและความดันโลหิตต่ำ การวินิจฉัยให้ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การรักษาต้องใช้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

การรักษากล้ามเนื้อหัวใจตาย STEMI การป้องกันกล้ามเนื้อหัวใจตาย STEMI

 

ทบทวนวันที่

โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

Google
 

เพิ่มเพื่อน