jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

การป้องกันหลอดเลือดตีบซ้ำของโรคหลอดเลือดสมองตีบ

ผู้ป่วยที่เป็นโรค TIA หรือสมองขาดเลือดจะมีโอกาศที่จะเป็นดรคหลอดเลือดตีบซ้ำร้อยละ3ถึง4 จึงจำเป็นที่จะต้องควบคุมความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดตีบ

ความดันโลหิตสูง

 

คำแนะนำ

ภาวะไขมันในเลือดสูง

คำแนะนำ

ภาวะผิดปกติของน้ำตาล

ความผิดปกติของน้ำตาลในเลือดได้แก่

คำแนะนำ

ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ60-70จะมีความผิดปกติของน้ำตาล ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะเป็นเบาหวานร้อยละ25-45 ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะเป็นภาวะน้ำตาลสูงร้อยละ 28

คำแนะนำ

ภาวะอ้วน

ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะมีภาวะอ้วนมากถึงร้อยละ 18-44 ภาวะอ้วนหมายถึงผู้ที่มีดัชนีมวลกายมากกว่า 30 กิโลกรัม/ตารางเมตร ซึ่งจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง กลไกเชื่อว่าคนอ้วนจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันดลหิตสูง ไขมันในเลือดสุง ภาวะดื้อต่ออินซูลิน และ การอักเสบ ความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองจะเริ่มเพิ่มตั้งแต่ดัชนีมวลกายที่ 20 กิโลกรัม/ตารางเมตร พบว่าดัชนีมวลกายที่เพิ่มขึ้นทุก 1 กิโลกรัม/ตารางเมตร ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5

คำแนะนำ

ภาวะอ้วนลงพุง Metabolic Syndrome

ภาวะอ้วนลงพุง หรือ Metabolic Syndromeเป็นภาวะที่ประกอบไปด้วย

ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะพบว่าเป็น Metabolic Syndrome ร้อยละ30-50 มก% การลดน้ำหนัก การออกกำลังกาย จะลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดไขมัน LDL-C ลดไขมัน triglycerides และเพิ่มระดับไขมัน HDL-C ลดความดันโลหิต ลดขบวนการอักเสบ และทำให้ผนังหลอดเลือดทำงานดีขึ้น

คำแนะนำ

การออกกำลังกาย

สมาคมโรคหัวใจของอเมริกาแนะนำให้มีการออกกำลังกายแบบแอร์โรบิคสัปดาห์ละ3-4 วันครั้ง 40 นาที ปัญหาที่เกิดกับผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองคือการอ่อนแรง การทรงตัว ความรู้สึกทำให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมีการออกกำลังกายน้อย

ภาวะโภชนการ

ภาวะโภชนาการเกินได้กล่าวไว้ในภาวะอ้วนหรือ metabolic syndrome สำหรับหรับภาวะทุโชนาการจะกล่าวต่อไป

ภาวะทุโภชนาการ

ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอาจจะมีภาวะทุโภชนาการเนื่องจากปัญหาโรคของผุ้ป่วย ผู้ป่วยไม่สามารถจะรับประทานอาหารเองได้ หรือมีปัญหาการดูดซึม แต่มีปัญหาเรื่องการประเมินภาวะทุโภชนาการ ซึ่งอาจจะใช้การประเมินดัชนีมวลกาย ระดับ albumin ในเลือด เส้นรอบแขน ความหนาของผิวหนัง ประเมินกันว่าผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะมีภาวะทุโภชนการประมารร้อยละ8-13

คำแนะนำ

นอนกรน

พบว่าผู้ป่วยมากกว่าครึ่งของโรคหลอดเลือดสมองจะมีภาวะนอนกรน Obstructive Sleep Apnea (การวัดว่าเป็นโรคนอนกรนหรือไม่จะวัดจำนวนครั้งต่อชั่วโมงที่หยุดหายในในขณะหลับ หากมากกว่า 5 ครั้งต่อชั่วดมงจะถือว่าเป็นโรคนี้ ความรุนแรงจะตามจำนวนครั้งของการหยุดหายใจ)

การสูบบุหรี่

การสูบบุหรี่หรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมของคนสูบบุหรี่

คำแนะนำ

การดื่มสุรา

คำแนะนำ

การป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง

เพิ่มเพื่อน