jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

การวินิจฉัยโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้ว

การวินิจฉัยโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้วแพทย์จะตรวจเพื่อหาสาเหตุและประเมินความรุนแรงของโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้ว

1การตรวจเลือด

2การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ECG

3การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงของหัวใจผ่านทางหน้าอก Transthoracic Echocardiogram

เป็นการตรวจการทำงานของหัวใจ ตรวจโครงสร้างของหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจ ขนาดของห้องหัวใจ การทำงานของหัวใจห้องล่าง ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ และลิ่มเลือดในหัวใจ ผู้ป่ วยที่เป็น AF ควรได้รับการตรวจหัวใจด้วย Echocardiogram ทุกราย

4การตรวจ X-ray ปอดและหัวใจ

เป็นการดูขนาดของหัวใจ และปอด ภาวะหัวใจวาย หัวใจโต

5การตรวจ Holter monitor

เป็นการตรวจการเต้นของหัวใจตลอด 24 ชั่วโมงเพราะอาจจะตรวจไม่พบผู้ป่วยหัวใจเต้นสั่นพริ้วในขณะตรวจร่างกายแต่มีอาการ ดังนั้นจะต้องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจตลอด 24 ชั่วโมง

6การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย

เป็นการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกายเพราะหากมีแนวโน้มที่ จะเกิดหัวใจเต้นสั่นพริ้วเมื่อมีการออกกำลังกายจะทำให้เกิดหัวใจสั่นพริ้วได้ง่ายขึ้น อ่านที่นี่

หัวใจเต้นสั่นพริ้ว

รูปที่1

หัวใจเต้นปกติ

รูปที่สอง

ปัจจัยเสี่ยงหัวใจเต้นสั่นพริ้ว การรักษาหัวใจเต้นสั่นพริ้ว

สารบัญ

ต้องการสอบถามเพิ่มเติมที่นี่

เพิ่มเพื่อน