jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

การรักษาหัวใจสั่นพริ้ว Atrial fibrillation

การรักษาหัวใจสั่นพริ้ว Atrial fibrillation 

เมื่อเกิดภาวะหัวใจสั่นพริ้วจะทำให้เกิดผลเสียคือทำให้หัวใจสูบเลือดไปเลี้ยงร่างกายลดลงร้อยละ 20 ซึึ่งอาจจะกระตุ้นให้โรคหัวใจวายกำเริบ นอกจากนั้นการที่หัวใจสั่นพริ้วจะทำให้เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือดในหัวใจ เมื่อลิ้มเลือดลอยไปอุดหลอดเลือดก็จะเกิดโรคตามมา ในการรักษาหัวใจสั่นพริ้วจะต้องรักษาที่สาเหตุเช่นต่อมไทรอยด์เป็นพิษซึ่งอาจจะทำให้หัวใจเต้นเป็นปรกติ

เป้าหมายในการรักษาหัวใจสั่นพริ้วได้แก่

มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาอาการและลดภาวะแทรกซ้อน เพื่อนำไปสู่เป้าหมายในการลดอัตราตายและอัตราการเข้าโรงพยาบาล โดยมีวิธีการหลายอย่างดังนี้

เจ็บหน้าอก

 

 

ผู้ป่วยหัวใจสั่นพริ้วรายใดต้องรักษา

การรักษาโดยการเปลี่ยนจังหวะการเต้นของหัวใจ Rhythm control

การปรับจังหวะการเต้นหัวใจทำได้ด้วย 2 วิธีหลัก คือ

ข้อบ่งชี้ที่จำเป็นต้องทำการคุมจังหวะโดยฉุกเฉินได้แก่ ผู้ป่วยที่มีสัญญาณชีพไม่คงตัว การเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน การเกิดหัวใจล้มเหลว ในขณะเกิดโรคหัวใจเต้นพริ้ว

การจี้รักษา

ข้อบ่งชี้ในการจี้รักษา คือ ผู้ป่วยที่ยังมีอาการจากโรคหัวใจเต้นพริ้วอยู่มาก แม้ว่าได้รับการควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจห้องล่างแล้ว

อ่านที่นี่

การลดอัตราการเต้นของหัวใจ Rate control

การคุมอ้ตราเต้นหัวใจห้องล่างไม่ให้เร็วเกินไป โดยอาศัยยาปิดกั้นมิให้ไฟฟ้าผ่าน AV node หากหัวใจห้องล่างเต้นเร็วและไม่ได้รับการรักษาเป็นเวลานานจะทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงและล้มเหลวตามมาได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องคุมอัตราเต้นหัวใจขณะพักให้อยู่ระหว่าง 60-100 ครั้งต่อนาท้ไม่สูงกว่า 110 ครั้งต่อนาที ยาในกลุ่มนี้ได้แก่

อ่านที่นี่

การป้องกันการเกิดลิ่มเลือด Preventing blood clots

โรคหัวใจห้องบนเต้นระริกเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดลิ่มเลือดและลิ่มเลือดอุดตันในสมองอย่างมาก เนื่องจากในภาวะนี้หัวใจห้องบนไม่สามารถบีบตัวผลักดันเลือดจากหัวใจห้องบนได้ จึงทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ หากลิ่มเลือดในหัวใจเข้าสู่กระแสเลือด อาจก่อให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันในสมอง ส่งผลให้ผู้ป่วยเป็นอัมพาตได้ ดังนั้นผู้ป่วยโรคหัวใจเต้นระริกที่มีปัจจัยเสี่ยงในการเกิดลิ่มเลือดระดับปานกลาง หรือ สูง แพทย์จะให้กินยาต้านการเกิดลิ่มเลือด การพิจารณาใช้ยาต้านการเกิดลิ่มเลือดในผู้ป่วยนั้นต้องพิจารณาความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเลือดออกจากผลของยาด้วย ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะเลือดออกสูงอาจพิจารณาป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในสมองด้วยวิธีอื่น

การเต้นสั่นพริ้วจเพิ่มความเสี่ยงการเกิดลิ่มเลือด ซึ่งจะทำให้เกิดโรคอัมพาต หากลิ่มเลือดลอยไปอุดหลอดเลือดแดง การให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด จะเป็นการป้องกันอัมพาต อ่านที่นี่


รายละเอียดในการดูแลรักษาผู้ป่วย atrial fibrillation อาจแบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้

การรักษาผู้ป่วยที่เป็น กลุ่มผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจสั่นพริ้วที่เป็นใหม่

การรักษา AF Recurrent paroxysmal atrial fibrillation 

การรักษา Persistent atrial fibrillation

การรักษาที่สาเหตุของการเกิดหัวใจเต้นสั่นพริ้ว

สาเหตุของการเกิดหัวใจเต้นสั่นพริ้วมีได้หลายสาเหตุดังนั้นการรักาาหัวใจเต้นสั่นพริ้วจะต้องรกษาที่ต้นเหตุซึ่งจะป้องกันมิให้เกิดหัวใจเต้นสั่นพริ้วหลังจากรักษา

สารบัญ

ต้องการสอบถามเพิ่มเติมที่นี่

เพิ่มเพื่อน