หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน
การเจาะเลือดเพื่อประเมิน | วิธีเจาะเลือดหาระดับน้ำตาลด้วยตัวเอง | การตรวจปัสสาวะ | Hemoglobin A1c | การเจาะหาไขมันในเลือด
เป็นวิธีที่สะดวกแต่ไม่นิยม มีข้อจำกัดในการประเมินผล เพราะน้ำตาลจะถูกขับออกมา เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกิน 180 มก.% สำหรับผู้สูงอายุ อาจจะพบน้ำตาลในปัสสาวะ เมื่อน้ำตาลในเลือดเกิน 220 มก.% ดังนั้นการตรวจน้ำตาลในเลือดจึงบงบอกน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดีนัก นอกจากนั้นหากมีการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ หรือเก็บปัสสาวะไม่ถูกต้องก็อาจจะทำให้การแปรค่าผิดไป
โรคเบาหวานและการดูแลตัวเอง
มีขั้นตอนปฏิบัติในการตรวจสอบปัสสาวะดังนี้
0 |
50 |
100 |
300 |
ข้อแนะนำสำหรับการตรวจปัสสาวะด้วยแทบ
สารคีโตนเป็นสารเคมีที่ร่างกายสร้างขึ้น เมื่อร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาล หรือเมื่อเราอดอาหาร ทำให้ร่างกายเผาผลาญไขมันในเนื้อเยื่อมาใช้ทำให้เกิดสารคีโตน และกรดแลคติกเกิดขึ้น หากขาดอินซูลินนานๆจะมีสารคีโตนและกรดแลคติกมากที่เรียกว่า คีโตอะซีโดซีส ( Ketoacidosis ) ดังนั้นการตรวจหาคีโตนในปัสสาวะจะทำให้ทราบว่าร่างกายขาดอินซูลินหรือไม่ ควรตรวจหาสารคีโตนในปัสสาวะเมื่อไร
สิ่งที่เกิด | การอ่านผล | การปฏิบัติ |
ไม่เปลี่ยนสี | ไม่มีคีโตน | ทำเหมือนปกติ |
สีชมพู | เริ่มมีคีโตน |
|
สีม่วงอ่อน | มีคีโตนเล็กน้อย | |
สีม่วง | มีคีโตนปานกลาง |
|
สีม่วงแก่ | มีคีโตนมาก |
การตรวจเลือดและปัสสาวะด้วยตัวเอง
วิธีเจาะเลือดหาระดับน้ำตาลด้วยตัวเอง | การตรวจปัสสาวะ | Hemoglobin A1c |
หลักการรักษา
การควบคุมอาหาร | การออกกำลังกาย | การรักษาเบาหวานด้วยยา | การใช้อินซูลิน | การประเมินการรักษา | โรคเบาหวานกับสุภาพสตรี | โรคเบาหวานและการท่องเที่ยว | การดูแลเมื่อเวลาป่วย | เบาหวานกับเอสไพริน | การดูแลในช่องปาก | การดูแลผิวหนัง