jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

จะคุมความดันแค่ไหนถึงจะดี


ความดันโลหิตเป้าหมายคือ <140/90 มม.ปรอท ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงต่ำถึงปานกลาง และ ความดันโลหิต<130/80 มม.ปรอท ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจและหลอดเลือดหรือโรคไต แต่จากการทบทวนหลักฐานต่างๆนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของแนวทางการรักษาใหม่

  1. เป้าหมายความดันโลหิตตัวบน Systolic blood pressure(SBP)<140 มม.ปรอทสำหรับผู้ที่มีภาวะดังต่อไปนี้
  1. ในผู้ป่วยสูงอายุ แต่อายุน้อยกว่า80 ปี ที่มีความดันโลหิตตัวบน (SBP )มากกว่า 160 มม.ปรอท ให้ลด SBP อยู่ระหว่าง 150-140 มม.ปรอท
  2. ในผู้ป่วยสูงอายุที่แข็งแรง แต่ แต่อายุน้อยกว่า 80 ปี ให้ลด SBPน้อยกว่า 140 มม.ปรอท ขณะที่ผู้ป่วยที่เปราะบางให้ลด SBP เท่าที่ผู้ป่วยจะทนได้
  3. ในผู้ป่วยอายุมากกว่า80 ปี ที่มี SBP มากกว่า 160 มม.ปรอท ให้ลด SBP อยู่ระหว่าง 150-140 มม.ปรอท โดยผู้ป่วยจะต้องมีร่างกายและจิตใจสมบูรณ์
  4. ความดันโลหิตตัวล่าง DBP เป้าหมายน้อยกว่า 80 มม.ปรอท ทุกราย ยกเว้นในผู้ป่วยโรคเบาหวานให้ DBP <85 มม.ปรอท อย่างไรก็ตามควรให้ DBP อยู่ระหว่าง 80-85 มม.ปรอท ซึ่งปลอดภัยและทนได้ดี


แนวทางการรักษา WCH และ MH

White coat hypertension( WCH)หมายถึงภาวะที่วัดความดันโลหิตที่โรงพยาบาลหรือคลินิกสูง แต่เมื่อวัดความดันโลหิตที่บ้านปกติ Masked hypertension (MH)หมายถึงภาวะที่วัดความดันโลหิตที่โรงพยาบาลปกติแต่ความดันโลหิตที่วัดที่บ้านสูง ซึ่งมีแนวทางการดูแลดังนี้

แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยสูงอายุ



แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูงในสตรี



แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เป็นโรคเบาหวาน

แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีกลุ่มโรคอ้วนลงพุง



แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีโรคไต

แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีโรคหลอดเลือดสมอง

แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีโรคหัวใจ

แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีโรคหลอดเลือดแดงแข็ง atherosclerosis, arteriesclerosis และ หลอดเลือดแดงที่ขาตีบ peripheral artery disease (PAD)

แนวทางการรักษาผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงที่ดื้อต่อการรักษา โรคความดันที่ดื้อยา

โรคความดันโลหิตสูงที่ดื้อต่อยาหมายถึงความดันโลหิตสูงที่รักษาด้วยยาลดความดันโลหิต 3 ชนิดขึ้นไป(มียาขับปัสสาวะอยู่ด้วย)แล้วยังไม่สามารถคุมความดันโลหิตได้

การรักษาปัจจัยเสี่ยงในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

ปัจจัยเสี่ยงหมายถึงโรคหรือภาวะที่พบร่วมกับความดันโลหิตสูงแล้ว จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

 

การรักษาความดันโลหิต